Page 8 - การจัดการวัสดุทางปาล์มที่เหมาะสมรอบทรงพุ่มต่อการเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดินเพื่อปลูกปาล์มน้ำมันในชุดดินระแงะ Suitable management of pilesing leaves in canopy to increase organic matter and nutrition for oil palm plantation in Rangae series.
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                     7



                                                        ตรวจเอกสาร

                             อินทรียวัตถุในดิน หมายถึงสิ่งที่ไดมาจากการยอยสลายของซากพืช ซากสัตว รวมไปถึง
               สิ่งขับถายของมนุษยและสัตว ขยะตางๆ ตลอดจนถึงเซลลของจุลินทรียที่สลายตัว ประเทศไทยเปน
               ประเทศเกษตรกรรม ผลผลิตเฉลี่ยตอไรยังอยูในระดับต่ำเนื่องจากพื้นที่ในการเพาะปลูกขาดความอุดม
               สมบูรณบางแหงอยูในสภาพที่เสื่อมโทรมจากการสำรวจของกรมพัฒนาที่ดินพบวา พื้นที่ที่มีอินทรียวัตถุอยู

               ต่ำกวา 2 เปอรเซ็นต มีประมาณ 191 ลานไร ประมาณรอยละ 60 ของพื้นที่ทั้งประเทศ เนื่องจากประเทศ
               ไทยอยูในเขตรอนและมรสุม อากาศรอน และมีฝนตกชุกเปนสภาพที่เหมาะสมตอกิจกรรมของจุลินทรียใน
               ดินในการยอยสลายอินทรียวัตถุและมีการตัดไมทำลายปาตลอดจนการทำเกษตรกรรมที่ขาดการปรับปรุง
               บำรุงดินทำใหอินทรียวัตถุในผิวหนาดินลดลงอยางรวดเร็วทางภาคภาคตะวันออกและภาค

               ตะวันออกเฉียงเหนือ ดินสวนใหญเปนดินทรายมีความอุดมสมบูรณต่ำและมีอินทรียวัตถุต่ำ ภาคกลางดิน
               สวนใหญเปนดินเหนียวซึ่งเกิดจากการทับถมของตะกอนที่พัดพามากับน้ำเปนที่ราบเหมาะสมสำหรับปลูก
               ขาวเนื่องจากมีการใชที่ดินติดตอกันมาเปนเวลานานควรเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุรวมกับปุยเคมีจะทำให

               ผลผลิตเพิ่มขึ้นสวนดินในภาคเหนือเปนดินรวนปนทรายมีอินทรียวัตถุต่ำเนื่องจากสภาพพื้นที่เปนที่ราบสูง
               และภูเขามีความลาดชันของพื้นที่มีการตัดไมทำลายปา ทำไรเลื่อนลอย ทำใหความอุดมสมบูรณของดิน
               ลดลงอยางรวดเร็ว สวนภาคใตมีอินทรียวัตถุต่ำเนื่องจากสภาพภูมิประเทศไมสม่ำเสมอมีความลาดเอียง

               มีปริมาณน้ำมากเกิดการชะลาง  และการกัดเซาะสูงแหลงที่มาของอินทรียวัตถุในดิน
               อินทรียวัตถุในดินมีความสำคัญตอการปลูกพืชเนื่องจากเปนที่สะสมธาตุอาหารพืชและชวยปรับปรุง

               โครงสรางทางดานกายภาพของดินใหเหมาะสมตอการปลูกพืช ดังนั้นแหลงที่มาของอินทรียวัตถุพอที่จะ
               จำแนกไดดังตอไปนี้
               1. ไดจากการสลายตัวของซากพืชซากสัตว โดยกิจกรรมของจุลินทรียที่อยูในดิน

               2. ไดจากการสลายตัวของปุยอินทรีย เชนปุยคอก ปุยพืชสด และปุยหมักเปนตน
               3. ไดจากการสลายตัวของสิ่งขับถายจากสัตวหรือจากผลิตภัณฑจากสัตวหรือพืช เชนกระดูกปนและเมล็ด
               ฝายปน  เปนตน
               4. ไดจากเซลลของจุลินทรียที่อยูในดิน อาจจะเปนจุลินทรียที่มีชีวิตหรือที่ตายแลวรวมทั้งผลิตภัณฑที่

               จุลินทรียสังเคราะหขึ้น
                              ดินในประเทศไทยที่เปนดินทรายจะมีปริมาณอินทรียวัตถุต่ำ และเม็ดดินจะไมเกาะตัวกัน
               ไดดี ทำใหการอุมน้ำของดินนอยลง สวนดินเหนียวที่ขาดอินทรียวัตถุดินจะแนนทึบ ออกซิเจนในดินจะมี
               นอย รากของพืชจะไมสามารถไชชอนไปหาอาหารบริเวณไกลๆได ในการพิจารณาอินทรียวัตถุในดิน กรม

               พัฒนาที่ดินไดกำหนดมาตรฐานของระดับอินทรียวัตถุในดินไวดังนี้

                                             ระดับ         อินทรียวัตถุ (%)
                                             ต่ำมาก             < 0.5
                                               ต่ำ            0.5 – 1.0

                                          ต่ำปานกลาง         > 1.0 – 1.5
                                            ปานกลาง           >1.5 – 2.5
                                          สูงปานกลาง          >2.5 – 3.5

                                               สูง            >3.5 – 4.5
                                             สูงมาก             >4.5
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13