Page 10 - การจัดการวัสดุทางปาล์มที่เหมาะสมรอบทรงพุ่มต่อการเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดินเพื่อปลูกปาล์มน้ำมันในชุดดินระแงะ Suitable management of pilesing leaves in canopy to increase organic matter and nutrition for oil palm plantation in Rangae series.
P. 10
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
9
การเพิ่มอินทรียวัตถุใหแกดิน
อินทรียวัตถุแตละชนิดประกอบดวยสารประกอบคารบอน และไนโตรเจน ( C/N ratio )
แตกตางกันดังแสดงในตารางที่6.4 พบวาชนิดของสารประกอบประเภทขาวโพด ฟางขาว กากออย และ
ขี้เลื่อยมีอัตราสวนระหวาง คารบอนตอไนโตรเจน มากกวา 20 กอนที่ใชปลูกตนพืชตองนำมาทำเปนปุย
หมักเสียกอน เพื่อใหเกิดการยอยสลายดวยจุลินทรียจนกระทั่งเปนปุยหมักที่สมบูรณซึ่งมีคาอัตราสวน
คารบอนตอไนโตรเจน เทากับหรือต่ำกวา 20 แลวนำไปใสในดิน ซึ่งจะทำใหเกิดกระบวนการมิเนรัลไลเซ
ชันทำใหธาตุอาหารพืชในปุยหมักปลดปลอยมาเปนประโยชนตอพืชในดินได
การจัดการดินและพืชเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุในดินสำหรับดินที่มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ำสามารถหาทางเพิ่ม
อินทรียวัตถุในดิน โดยแบงออกเปน 2 แนวทาง คือ
1. การจัดการดินที่มีอินทรียวัตถุต่ำโดยใชปุยอินทรียชนิดตางๆ ปุยหมัก ปุยพืชสด
ปุยคอกและการไถกลบวัสดุเหลือใชที่มีอยูในไรนา
2. การจัดการพืชเพื่อการปรับปรุงดิน โดยการจัดระบบการปลูกพืชหมุนเวียนการ
ปลูกแซม การปลูกพืชเปนแถบ การปลูกพืชเหลี่อม การปลูกพืชระหวางไมยืนตนและการปลูกพืชคลุมดิน
โดยเฉพาะพืชตระกูลถั่ว (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551)
ชุดดินระแงะ (Rangaeseries:Ra) กลุมชุดดินที่14 การจำแนกดิน Veryfine, mixed,
superactive, acid, isohyperthermic Sulfic Endoaquepts เกิดจากตะกอนน้ำกรอยพามาทับถมอยู
บนบริเวณที่ราบลุมต่ำชายฝงทะเลหรือ พื้นที่พรุ (Former Tidal Flat or Swamp Deposit) สภาพพื้นที่ที่
พบมีลักษณะเปนที่ลุมต่ำหรือพื้นที่พรุมีความลาดชัน 0 - 1 เปอรเซ็นต มีการระบายน้ำเลวมากการไหลบาของน้ำ
บนผิวดินชาความสามารถการซึมผานไดของน้ำชาโดยทั่วไปเปนปาเสม็ดและเปนเฟรน กก กระจูด เปนไม
พื้นลาง บางแหงใชทำนาและยกรองปลูกยางพารา ปาลมน้ำมันพบทั่วไปในพื้นที่ลุมต่ำ พื้นที่ราบชายฝง
ทะเลภาคใตลักษณะและสมบัติดินเปนดินเหนียวลึกมากดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนมีสีดำหรือสีเทาปนดำมี
ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก (pH 4.5 - 5.0) ดินลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปงสี
น้ำตาลปนเทามีจุดประสีเหลืองและสีน้ำตาลมีปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5 - 5.5)
และดินลางชั้นถัดไปชวงความลึก 50 - 100 เซนติเมตรจากผิวดิน มีเนื้อดินเปนดินเลนเหนียวสีเทาปนน้ำ
เงินที่มีสารประกอบกำมะถันมาก (pyrite: FeS 2) ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย(pH 5.5 -
6.5) เมื่อดินแหงชั้นดินนี้จะแปรสภาพเกิดเปนดินกรดกำมะถันดินบนและดินลางมีความอุดมสมบูรณต่ำ
ขอจำกัดการใชประโยชนที่ดินเปนดินกรดจัดมาก มีธาตุอะลูมินัม เหล็ก และแมงกานีสถูกละลายออกมา
มากจนเปนพิษตอพืชธาตุฟอสฟอรัสถูกตรึงอยูในรูปที่พืชดูดไปใชไมได ดินมีโครงสรางแนนทึบและคุณภาพ
น้ำเปนกรดจัดและมีน้ำแชขังนานไมเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชที่ไมชอบน้ำขังการใชประโยชนที่ดิน
ใชทำนาควรควบคุมและลดความเปนกรดของดินดวยวัสดุปูน เชน ปูนมารล และหินปูนฝุนรวมกับการใช
น้ำหมักชีวภาพ พด.2 และปุยเคมีพื้นที่ยกรองควรรักษาหนาดินไวปลูกพืช ควบคุมความเปนกรดของดิน
ดวยวัสดุปูนและปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยพืชสด ปุยหมัก หรือปุยคอกรวมกับปุยอินทรียน้ำและปุยเคมี
พัฒนาแหลงน้ำ ระบบควบคุมน้ำและระบบใหน้ำในแปลงปลูก(สำนักสำรวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
,2548)
ปาลมน้ำมัน (Elaeis guineensis Jacq.) เปนพืชยืนตน ใบเลี้ยงเดี่ยว มีความสามารถสูง
ในการเปลี่ยนแปลงพลังงานแสงแดดใหเปนน้ำมันพืชเมื่อเปรียบเทียบกับพืชน้ำมันชนิดอื่น(อรรถ และคณะ
, 2548) ปาลมน้ำมันมีการเจริญเติบโตทางลำตนอยางรวดเร็ว ถาไดรับสภาพแวดลอมที่เหมาะสม เชน
ปริมาณน้ำฝนที่เหมาะสมอยูระหวาง 2,200-3,000 มิลลิเมตรตอปและในแตละเดือนมีปริมาณน้ำฝนไม