Page 11 - การจัดการวัสดุทางปาล์มที่เหมาะสมรอบทรงพุ่มต่อการเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดินเพื่อปลูกปาล์มน้ำมันในชุดดินระแงะ Suitable management of pilesing leaves in canopy to increase organic matter and nutrition for oil palm plantation in Rangae series.
P. 11
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
นอยกวา 120 มิลลิเมตร ปริมาณน้ำฝนที่เพียงพอจะชวยใหกระบวนการพัฒนาและสุกของผลเปนไปอยาง
ปกติ มีสัดสวนของน้ำมันตอทะลายสูง ในกรณีที่มีชวงแลงยาวนานจะมีผลทำใหจำนวนดอกตัวเมียลดลง
ซึ่งทำใหผลผลิตของปาลมน้ำมันลดลงดวย สภาวะการขาดน้ำฝนจะมีผลกระทบตอการสรางและพัฒนาตา
ดอกเปนดอกตัวผูมาก นอกจากนั้นยังมีผลตอการผสมเกสร ซึ่งมีผลตอเนื่องถึงคุณภาพทะลายอีกดวย
แสงแดด มีอิทธิพลตอผลผลิตปาลมน้ำมันโดยผลผลิตที่เพิ่มขึ้นนั้นรวมถึงจำนวนทะลายปาลมน้ำมันและ
น้ำหนักของทะลายที่เพิ่มขึ้นดวย ดังนั้นการจัดการอยางถูกตองเหมาะสมเกี่ยวกับระยะปลูกการตัดแตง
ทางใบเปนสิ่งจำเปนที่ทำใหปาลมน้ำมันมีพื้นที่ใบที่ไดรับแสงไดเหมาะสม จึงกลาวไดวาการตัดแตงทางใบที่
เหมาะสมจะชวยใหปาลมน้ำมันไดรับแสงที่เพียงพอ และเพิ่มอัตราการสังเคราะหแสงในใบแกและยังชวย
ใหมีการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพนอกจากนี้อุณหภูมิที่สูงหรือต่ำเกินไปมีผลตอการเจริญเติบโตของปาลม
น้ำมันชวงอุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 22 - 23 องศาเซลเซียส ซึ่งเปนชวงอุณหภูมิปกติของเขตรอนชื้นสภาพภูมิประเทศ
ไดแกความลาดชันและการทวมขังของน้ำเนื่องจากในสภาพที่มีความลาดชันมาก พื้นดินจะถูกชะลางมาก
ประกอบกับการจัดการจะทำไดยากและมีการลงทุนสูงในขณะที่พื้นที่ลุมหรือมีการระบายน้ำไมดีจะสงผล
ตอการเจริญเติบโตของปาลมน้ำมันเนื่องจากปาลมน้ำมันเปนพืชที่ไมทนตอการทวมขังของน้ำ พื้นที่ปลูก
ปาลมน้ำมันควรเลือกพื้นที่ที่เปนที่ราบหรือเปนลอนเพียงเล็กนอยดินที่ไมเหมาะสมและควรหลีกเลี่ยงใน
การปลูกปาลมน้ำมันคือดินลูกรัง ซึ่งเปนดินที่มีเม็ดกรวด ชั้นลางอาจเปนศิลาแลงใตผิวดิน ดินดังกลาวจะ
ไมดูดซึมน้ำ และแหงอยางรวดเร็วในชวงที่อากาศแหง ดินชายทะเลที่เปนทรายจัด เปนดินที่มีความอุดม
สมบูรณต่ำ ธาตุอาหารในดินไมเพียงพอกับความตองการของปาลมน้ำมันและดินที่มีการระบายน้ำเลว
เนื่องจากระบบรากของปาลมน้ำมันมีประสิทธิภาพในการดูดน้ำและแรธาตุอาหารต่ำกวาพืชทั่วไป ดังนั้น
จึงจำเปนตองใหธาตุอาหารแกปาลมน้ำมันในอัตราที่สูงเพื่อรักษาระดับปริมาณธาตุอาหารที่พอเพียงตอ
การเจริญเติบโตและใหผลผลิตของปาลมน้ำมัน อยางไรก็ตามในการที่จะรักษาระดับของธาตุอาหารใหมี
ความเพียงพอตอการดูดธาตุอาหารของปาลมน้ำมัน ควรมีการเพิ่มความเขมขนของธาตุอาหารใหสูง มีดิน
นอยชนิดที่สามารถปลดปลอยธาตุอาหารที่เพียงพอตอการเจริญเติบโตและใหผลผลิตของปาลมน้ำมันจึง
ตองมีการใสปุยในอัตราสูงเพื่อใหผลผลิตคุมคากับการลงทุน (อรรถ และคณะ 2548) การใสปุยปาลม
น้ำมันควรใสปุยใหเพียงพอกับความตองการของตนปาลม ไมมากหรือนอยเกินไปคาปุยคิดเปน 50 – 60
เปอรเซ็นต ของตนทุนการผลิต การใสปุยมากเกินไป นอกจากจะทำใหเสียคาใชจายสูง ผลผลิตไมเพิ่มขึ้น
ยังมีผลเสียตอตนปาลมไดอีกดวย การใสปุยเพียงอยางเดียว ไมสามารถทำใหผลผลิตสูงสุดได หากปจจัย
อื่นที่มีปญหายังไมไดรับการแกไข เชน ดิน น้ำ การดูแลรักษา เปนตน ปุยที่ใสอาจไมอยูในรูปที่เปน
ประโยชนตอพืชหรือรากพืชไมสามารถดึงดูดธาตุอาหารจากปุยไปใชเปนประโยชนได (กรมวิชาการเกษตร,
2548)
วิธีการดำเนินงานวิจัยและสถานที่ทำการทดลอง/เก็บขอมูล
คัดเลือกแปลงปาลมน้ำมันอายุประมาณ 6 ป วางแผนการทดลองแบบ Randomized
Complete Block Design (RCBD) จำนวน 4 วิธีการทดลอง วิธีการละ 3 ซ้ำ รวมทั้งหมด 12 แปลง
วิธีการทดลองมีดังนี้
วิธีการที่ 1 ไมใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดินรวมกับการไมกองทางปาลมน้ำมัน
วิธีการที่ 2 ไมใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดินรวมกับการกองทางปาลมน้ำมัน
วิธีการที่ 3 ใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดินรวมกับการไมกองทางปาลมน้ำมัน
วิธีการที่ 4 ใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดินรวมกับการกองทางปาลมน้ำมัน