Page 5 - การจัดการวัสดุทางปาล์มที่เหมาะสมรอบทรงพุ่มต่อการเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดินเพื่อปลูกปาล์มน้ำมันในชุดดินระแงะ Suitable management of pilesing leaves in canopy to increase organic matter and nutrition for oil palm plantation in Rangae series.
P. 5

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                     4



               ชื่อโครงการวิจัย      การจัดการวัสดุทางปาลมที่เหมาะสมรอบทรงพุมตอการเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุ
                                            อาหารในดินเพื่อปลูกปาลมน้ำมันในชุดดินระแงะ

                                      Suitable management of pilesing leaves in canopy to increase
                                    organic matter and nutrition for oil palm plantation in Rangae
                                    series
               ทะเบียนวิจัย          62-63-03-08-020000-005-103-01-11
               กลุมชุดดิน           14

               ผูดำเนินการ          นางสาวบงกชกรณ  อาณานุการ  Miss Bongkotkorn  Arnanukarn
               ผูรวมดำเนินการ      นางสาวโชติกา  งามเงินสกุล    Miss Chotika  Ngam-Ngen sakul


                                                       บทคัดยอ


                             การจัดการวัสดุทางปาลมที่เหมาะสมรอบทรงพุมตอการเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหาร
               ในดินเพื่อปลูกปาลมน้ำมันในชุดดินระแงะ ดำเนินการในแปลงปาลมน้ำมัน ต.ทาเคย อ.ทาฉางจ. สุราษฎร
               ธานี  คัดเลือกแปลงปาลมน้ำมันอายุประมาณ 6 ปวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete
               Block Design (RCBD) จำนวน 4 วิธีการทดลอง วิธีการละ 3 ซ้ำ รวมทั้งหมด 12 แปลง วิธีการทดลองมี
               ดังนี้ 1 ) ไมใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดิน 2) ใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดิน 3 ) ไมกองทางปาลมน้ำมัน

               บริเวณทรงพุม 4 ) กองทางปาลมน้ำมันบริเวณทรงพุม  พบวา คาความเปนกรด-ดางของดิน เพิ่มขึ้นทุก
               วิธีการ โดยวิธีการใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดินรวมกับการไมกองทางปาลมน้ำมัน มีปริมาณคาความเปน
               กรด-ดางของดิน และสูงสุด 5.73 เปอรเซ็นต และมีปริมาณอินทรียวัตถุสูงสุด 2.68 เปอรเซ็นต และไมมี

               ความแตกตางกันทางสถิติกับวิธีการอื่นๆ โดยวิธีการไมใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดินรวมกับการไมกองทาง
               ปาลมน้ำมันปริมาณอินทรียวัตถุมีแนวโนมลดลง  วิธีการใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดินรวมกับการกองทาง
               ปาลมน้ำมันมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน 17.16 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม และมีปริมาณโพแทสเซียมที่
               แลกเปลี่ยนไดในดิน 641.55 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม แตไมมีความแตกตางกันทางสถิติกับวิธีการอื่น
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10