Page 16 - การจัดการวัสดุทางปาล์มที่เหมาะสมรอบทรงพุ่มต่อการเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดินเพื่อปลูกปาล์มน้ำมันในชุดดินระแงะ Suitable management of pilesing leaves in canopy to increase organic matter and nutrition for oil palm plantation in Rangae series.
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                    15

                                                        สรุปผลการทดลอง

                         การจัดการวัสดุทางปาลมที่เหมาะสมรอบทรงพุมตอการเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดิน
          เพื่อปลูกปาลมน้ำมันในชุดดินระแงะ  ดำเนินการในแปลงปาลมน้ำมัน ต.ทาเคย อ.ทาฉาง จ. สุราษฎรธานี
          คัดเลือกแปลงปาลมน้ำมันอายุประมาณ 6 ป วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block
          Design (RCBD) จำนวน 4 วิธีการทดลอง วิธีการละ 3 ซ้ำ รวมทั้งหมด 12 แปลง วิธีการทดลองมีดังนี้ 1 ) ไมใส

          ปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดิน 2) ใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดิน 3 ) ไมกองทางปาลมน้ำมันบริเวณทรงพุม 4 )
          กองทางปาลมน้ำมันบริเวณทรงพุม  พบวา คาความเปนกรด-ดางของดิน เพิ่มขึ้นทุกวิธีการ โดยวิธีการใสปุยเคมี
          ตามคาการวิเคราะหดินรวมกับการไมกองทางปาลมน้ำมัน มีปริมาณคาความเปนกรด-ดางของดิน และสูงสุด 5.73

          เปอรเซ็นต และมีปริมาณอินทรียวัตถุสูงสุด 2.68 เปอรเซ็นต และไมมีความแตกตางกันทางสถิติกับวิธีการอื่นๆ
          โดยวิธีการไมใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดินรวมกับการไมกองทางปาลมน้ำมันปริมาณอินทรียวัตถุมีแนวโนมลดลง
          วิธีการใสปุยเคมีตามคาการวิเคราะหดินรวมกับการกองทางปาลมน้ำมันมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน 17.16
          มิลลิกรัมตอกิโลกรัม และมีปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดในดิน 641.55 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม แตไมมีความ
          แตกตางกันทางสถิติกับวิธีการอื่น
   11   12   13   14   15   16   17   18