Page 25 - การจัดการอินทรียวัตถุในดินเพื่อการผลิตข้าวโพดหวานในระบบเกษตรอินทรีย์ จังหวัดสตูล Soil Organic Matter Management for Sweet Corn Production in Organic Agriculture System, Sutun Province.
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          18



                  กิจกรรมการแปรสภาพฟอสฟอรัสโดยจุลินทรีย์ในดินอย่างสมดุล ซึ่งฟอสฟอรัสจะไม่ถูกดูดยึดโดยสารประกอบแร่ธาตุ
                  บางชนิดในดิน (วนิดาและศิวพร, 2560)  ในดินทั่วไปมีระดับฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่ำมากเมื่อเทียบกับปริมาณ
                  ของไนโตรเจนและโพแทสเซียม


                  ตารางที่ 6 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินก่อนและหลังการทดลองปีที่ 1 และปีที่ 2

                                                                                                       -1
                                                                      ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (mg kg )
                                    ตำรับการทดลอง                          ปีที่  1            ปีที่ 2
                                                                       ก่อน      หลัง      ก่อน      หลัง
                  ตำรับที่ 1 ปุ๋ยหมักพด.1 อัตรา 2,000 กก.ต่อไร่ ร่วมกับสับ  187.67   16.33   46.67   12.33
                  กลบตอซังข้าวโพดหวาน
                  ตำรับที่ 2 ปุ๋ยหมักพด.1 อัตรา 2,000 กก.ต่อไร่ ร่วมกับน้ำหมัก  130.33   18.67   20.33   16.67
                  ชีวภาพ
                  ตำรับที่ 3 ปุ๋ยหมักพด.1 อัตรา 2,000 กก.ต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ย  238.33   21.00   18.00   15.33
                  สด ร่วมกับน้ำหมักชีวภาพ

                  ตำรับที่ 4 ปุ๋ยหมักพด.12 อัตรา 300 กก.ต่อไร่ ร่วมกับสับกลบ 1,138.33   41.00   18.67   9.33
                  ตอซังข้าวโพดหวาน
                  ตำรับที่ 5 ปุ๋ยหมักพด.12 อัตรา 300 กก.ต่อไร่ ร่วมกับน้ำหมัก  191.67   19.67   15.67   8.33
                  ชีวภาพ
                  ตำรับที่ 6 ปุ๋ยหมักพด.12 อัตรา 300 กก.ต่อไร่ ร่วมกับพืชปุ๋ย  124.33   8.00   24.67   12.33
                  สด และน้ำหมักชีวภาพ
                  ตำรับที่ 7 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง  อัตรา 100 กก.ต่อไร่ ร่วมกับ  468.00   12.33   16.00   10.33
                  สับกลบตอซังข้าวโพดหวาน

                  ตำรับที่ 8 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง  อัตรา 100 กก.ต่อไร่ ร่วมกับ  157.67   52.67   21.67   15.00
                  น้ำหมักชีวภาพ
                  ตำรับที่ 9 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง  อัตรา 100 กก.ต่อไร่ ร่วมกับ  185.67   10.67   19.33   6.67
                  พืชปุ๋ยสดและน้ำหมักชีวภาพ
                                        F-test                          ns        ns       ns        ns
                                        CV (%)                         26.7     31.66     30.23     39.7

                    หมายเหตุ  ns หมายถึง ไม่แตกต่างกันทางสถิติ


                             1.4 ปริมาณโพแทสเซียมที่ประโยชน์ในดิน (Avail.K)
                             จากผลการวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดินก่อนดำเนินการทดลองในปีที่ 1 (ตารางที่  4) พบว่าในดินมี
                  ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์เฉลี่ยอยู่ในระดับสูงมาก  คือมีค่าอยู่ระหว่าง 65.50 – 326.33  มิลลิกรัมต่อ
                  กิโลกรัม หลังการทดลองพบว่าในทุกตำรับการทดลองในดินมีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ลดลง  มีปริมาณ
                  โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์เฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง  อยู่ในช่วง 37.33 – 86.00  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม สำหรับการ

                  ทดลองในปีที่ 2 (ตารางที่ 4) ผลวิเคราะห์ดินก่อนการทดลองมีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์เฉลี่ยอยู่ในระดับ
                  ปานกลาง มีค่าระหว่าง  44.33 – 72.67  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม หลังการทดลองพบว่าทุกตำรับการทดลองดินมีปริมาณ
                  โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ลดลงเล็กน้อย ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์เฉลี่ยยังอยู่ในระดับปานกลาง  มีค่าอยู่
                  ระหว่าง  38.33 – 56.00 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยผลการใช้วัสดุอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ พด.12
                  ในการปรับปรุงดินเค็มเพื่อปลูกหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 ของสุวรรณภาและคณะ (2559) การที่ปริมาณโพแทสเซียมที่
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30