Page 22 - ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินทรายจัดต่อการผลิตข้าวโพดหวานในจังหวัดสงขลา Effect of bio-organic fertilizers on change for soil properties in sandy soils to increase sweet corn yield at Songkhla province.
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                   20




                                3.2 ใส่ปุ๋ยหมัก พด.1 อัตรา 4,000 กิโลกรัมต่อไร่โดยใส่ 3 ครั้ง คือ ระยะเตรียมพื้นที่ปลูกไถพรวน
                     ดิน ข้าวโพดหวานอายุ 20 และ 40 วัน ตามล าดับ ในต ารับที่ 2 และ 6

                                3.3 ใส่ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300  กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งใส่ 3 ครั้ง คือ รองก้นหลุม,ข้าวโพด

                     หวานอายุ 20 วัน และ อายุ 40 วัน ใส่ระหว่างแถวตามแนวปลูกพืชแล้วพูนโคนกลบปุ๋ย ในต ารับที่ 3 และ 7
                                3.4 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100  กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งใส่ 3 ครั้ง คือ รองก้นหลุม,ข้าวโพด

                     หวานอายุ 20 วัน และ อายุ 40 วัน ใส่ระหว่างแถวตามแนวปลูกพืชแล้วพูนโคนกลบปุ๋ย ในต ารับที่ 4 และ 8

                                3.5 ฉีดพ่นหรือรดน ้าหมักชีวภาพ พด.2 อัตรา 200 ซีซีผสมน ้า 100 ลิตร ทุกๆ 10 วัน ในต ารับที่
                     1,2,5,6,7 และ 8

                            4. การป้องกันโรค

                                   - ใส่ปุ๋ยหมัก พด.3 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ ป้องกันโรครากเน่าโคนเน่าในทุกต ารับการ
                     ทดลอง

                            5. การป้องกันแมลง

                                   - สารควบคุมแมลงศัตรูพืช พด.7 ที่เจือจางแล้วอัตรา 50 ลิตรต่อไร่ โดยฉีดพ่นที่ใบ ล าต้น
                     และรดลงดินทุกๆ 20 วันหรือช่วงที่แมลงระบาดพ่นทุกๆ 3 วันติดต่อกัน 3 ครั้ง ในทุกต ารับการทดลอง

                            หมายเหตุ : การเจือจางสารควบคุมแมลงศัตรูพืชผสมน ้า เท่ากับ 1 : 100

                            6. การเก็บเกี่ยว
                                   - เก็บเกี่ยวผลผลิต 18 - 20 วัน หลังจากข้าวโพดหวานออกไหม 50 % ของทั้งแปลง

                     (อายุ 55 - 65 วัน) หรือสังเกตจากสีของไหมจะเปลี่ยนเป็นสีน ้าตาลเข้ม เมื่อใช้มือบีบส่วนปลายฝักจะยุบตัวได้

                     ง่าย
                            7. การเก็บรวบรวมข้อมูล

                                   - พื้นที่เก็บเกี่ยวข้อมูล ขนาด 3 x 3 เมตร ต่อต ารับการทดลอง

                                   - บันทึกข้อมูลการเก็บตัวอย่างดิน 3 ครั้งต่อฤดูกาลผลิต คือ
                                          1. ก่อนการทดลอง

                                          2. หลังการสับกลบพืชปุ๋ยสดในต ารับที่ปลูกพืชปุ๋ยสด

                                          3. หลังการทดลอง (ในต ารับที่ 3,4,7 และ 8 จะเก็บตัวอย่างดินหลังสับกลบตอซัง
                                             ข้าวโพดหวานแล้ว 2 สัปดาห์) โดยจะเก็บที่ระดับความลึก 0 - 20 เซนติเมตร ทุก

                                             ต ารับการทดลองเพื่อวิเคราะห์สมบัติของดินก่อนและหลังจากการเก็บเกี่ยว

                                             ผลผลิตข้าวโพดหวาน
                                   - บันทึกข้อมูลผลวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดิน ดังนี้ปริมาณ OM. P K Ca Mg S pH ค่าการ

                     น าไฟฟ้าของสารละลายดินและความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก

                                   - บันทึกน ้าหนักสดของพืชปุ๋ยสด
                                   - บันทึกน ้าหนักสดของตันข้าวโพดหวานในต ารับที่ 3 , 4 , 7 และ 8 ก่อนการสับกลบตอซัง

                                   - บันทึกข้อมูลการเจริญเติบโตของข้าวโพดหวานในแต่ละต ารับการทดลอง
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27