Page 5 - การจัดการดินเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวโพดหวานในระบบพืชหลังนากลุ่มชุดดินที่ 4 จังหวัดนครสวรรค์ Soil management for increasing sweet corn yield in post-rice crop system on soil group no.4 in Nakhonsawan province.
P. 5

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                           5

                                                               Abstract




                          Soil management study to increase sweet corn yield in the after farming system of soil
                   series 4, Nakhon Sawan Province. The experiment was conducted at Ban Huang Suang, Village No.
                   8, Phikun Sub-district, Chum Saeng District, Nakhon Sawan Province, coordinates E643571 N1757905.

                   The experimental plant species of sweet corn cultivar Super Sweet Hybrid 3 was conducted from
                   October 2017 to September 2020. It was found that the soil chemistry after the experiment was
                   more fertile in all treatments by organic matter content. Beneficial phosphorus and exchangeable
                   potassium tended to be increased from the soil prior to all experimental regimens. Experiment
                   formula 5 application of bio-fertilizer PD 12 at the rate of 300 kg/rai together with chemical fertilizer
                   application according to soil analysis values. This resulted in better growth of sweet corn plants in
                   the field of soil group 4 and the maximum pod length of 24.83 cm. Experiment formula 3, the
                   fertilization method according to the Department of Agriculture's recommended rate resulted in
                   the corn breadth and sweetness the most. As for the biomass of sweet corn, the experimental
                   formula 6, the application of biofertilizer PD 12 at the rate of 300 kg/rai combined with the

                   application of 75% chemical fertilizer according to the soil analysis value. with the highest sweet
                   corn fresh weight of 2,907 kg per rai. Experiment formula 4 chemical fertilizer application according
                   to soil analysis. The highest dry weight of sweet corn was 754 kg per rai. Experiment formula 5 the
                   application  of  biofertilizer  PD  12  at  the  rate  of  300  kg/rai  combined  with  chemical  fertilizer
                   application according to the soil analysis yielded a maximum yield of sweet corn 2,559 kg/rai. When
                   comparing the economic return, it was found that the experiment formula 4 had the highest average
                   3 year net income of sweet corn cultivation, which was 14,010 baht per rai.



                                                       หลักการและเหตุผล


                         พื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยเป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็น ข้าวข้าวโพด พืช
                   ตระกูลถั่ว และพืชผักอีกหลายชนิด โดยในปัจจุบันการเพาะปลูกในหลายๆ พื้นที่กำลังประสบกับปัญหาภัยแล้งที่เกิด

                   จากความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ส่งผลให้ปริมาณน้ำตามเขื่อนต่างๆ ลดลงอย่างมาก อีกทั้งฝนที่เคยตก
                   ตามฤดูกาลก็ไม่เป็นไปอย่างที่คิดเอาไว้ จึงทำให้การเพาะปลูกในบางพื้นที่ต้องยกเลิกไปแต่ก็ยังมีเกษตรกรบางส่วนที่

                   พร้อมรับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น นอกจากนี้รัฐบาลและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีนโยบายลดพื้นที่การทำนาปรัง
                   เพื่อลดการใช้น้ำและให้เกษตรกรหันมาปลูกพืชใช้น้ำน้อยหลังนาแทนการปลูกข้าวโดยพืชทางเลือกที่เหมาะสมในการ
                   ปลูกนั้นเป็นพืชที่อายุสั้น ทนแล้ง และให้ผลผลิตเร็ว การปลูกพืชหลังนานอกจากจะช่วยลดความเสี่ยงที่เกษตรกรจะ

                   ได้รับจากการปลูกพืชแบบเดิมแล้ว การปลูกพืชใช้น้ำน้อยจะช่วยตัดวงจรการระบาดของแมลงศัตรูข้าว เพิ่มความ
                   อุดมสมบูรณ์ของดิน เพิ่มปริมาณผลผลิตให้มีความหลากหลายเพิ่มขึ้นและลดการนำเข้าผลผลิตทางการเกษตร ซึ่ง

                   ภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยมีพืชหลายชนิดที่เหมาะสมในการปลูกพืชหลังการทำนา สำหรับการเลือกพืชที่
                   เกษตรกรจะนำมาปลูกนั้นจะต้องใช้หลักการ 4 อย่างเพื่อพิจารณา คือ 1.เลือกชนิดของพืชที่ใช้ปลูกให้ตรงกับความ
                   ต้องการของตลาดมีความเหมาะสมกับพื้นที่ 2.ปรับพื้นที่ให้เหมาะสมในการจัดการน้ำ 3.เลือกช่วงเวลาการปลูกที่
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10