Page 2 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 2

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                   ทะเบียนวิจัยเลขที่    61 63 17 09 20005 005 105 05 11
                   ชื่อชุดโครงการวิจัย/โครงการวิจัย  การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต

                                              และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี
                                              Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and
                                              rice yield in clayer soil in Suphanburi province
                   กลุ่มชุดดินที่  4    ชุดดินชัยนาท (Cn)  ชนิดดินเหนียว  พิกัด 47P 0613474 1613934
                   สถานที่ด าเนินการ   ห้องปฏิบัติการจุลินทรีย์ทางการเกษตร กองเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน และ
                                     แปลงทดลอง ณ แปลงเกษตรกรพื้นที่ดินเหนียว หมู่บ้านท่าคอย ต.บางงาม อ.ศรีประจันต์
                                     จ.สุพรรณบุรี
                   ผู้ร่วมด าเนินการ   นางสาวพนิดา ปรีเปรมโมทย์      MISS PANIDA PREEPREMMOTE
                                     นางสาวสิรินภา ชินอ่อน           MISS SIRINAPA CHIN-ON


                                                            บทคัดย่อ


                                 การศึกษานี้ด าเนินการในแปลงทดลอง ในปี 2561– 2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
                   ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวไม่ไวแสงในดินเหนียว
                   และศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีในดิน

                   เหนียว กลุ่มชุดดินที่ 4 ชุดดินชัยนาท ณ แปลงเกษตรกร หมู่บ้านท่าคอย ต าบลบางงาม อ าเภอศรีประจันต์
                   จังหวัดสุพรรณบุรี วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ Randomized Complete Block Design
                   (RCBD) จ านวน 8 ต ารับการทดลอง 3 ซ้ า ประกอบด้วย ควบคุม ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน ผลิตภัณฑ์
                   ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า ใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50% และใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมี 70% ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ

                   ส าหรับนาข้าวรูปแบบผง ใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50% และใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมี 70% พบว่าการใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ย
                   ชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 50%  (ต ารับทดลองที่ 4) มีผลต่อปริมาณโพแทสเซียมที่
                   แลกเปลี่ยนได้ในดินสูงกว่าต ารับอื่น มีผลให้น้ าหนักเมล็ดลีบเฉลี่ยต่ าที่สุด 25.37 เปอร์เซ็นต์ การเจริญเติบโต
                   ในด้านความสูงระยะเก็บเกี่ยวเฉลี่ยสูงสุด 99.15 เซนติเมตร น้ าหนักข้าว 100 เมล็ดเฉลี่ย 3.50 กรัม และ

                   ให้ผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 เฉลี่ย 467.41 กิโลกรัมต่อไร่ และพบว่าการใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง
                   ร่วมกับปุ๋ยเคมี 70%  (ต ารับทดลองที่ 8) ให้ผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 เฉลี่ยใกล้เคียงจากต ารับทดลองที่ 4 ให้
                   ผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 เฉลี่ย 465.19 กิโลกรัมต่อไร่



                                                            Abtracts


                          This research aimed to study the effect of biofertilizer product for paddy field on
                   growth and yield of rice cultured in clayey soil and chemical property of soil.  The field

                   experiment was conducted during 2018-2020 at MuBan Takoi , Tambon Bingham, Amphoe
                   Sriprajun in Supanburi Province. The experiment was randomized completely block design
                   with 8 treatments and 3 replications. The 1 treatments was no treat as a control, the 2 was
                   using chemical fertilizer according to soil analysis test, the 3 and 6 were biofertilizer product
                   in liquid and wettable formulation, respectively,  the 4 and 5 were biofertilizer product in

                   liquid formulation together with 50% and 70% of chemical fertilizer, respectively and the 7
                   and 8 treatments were biofertilizer product in  wettable powder formulation together with
                   50% and 70% of chemical fertilizer, respectively. The results showed the application of
   1   2   3   4   5   6   7