Page 19 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดสุรินทร์ Study efficiency of bio-fertilizer to increase growth and rice (Khao Dawk Mali 105) yield inSandy Loam soil, Surin Province.
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                   ตารางที่ 8 ปริมาณแมกนีเซียมที่เป็นประโยชน์ต่อพืชในดิน ระหว่างปี 2561- 2563

                          ตำรับ                    แมกนีเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน ระดับการประเมิน (mg/kg)
                        การทดลอง        ปี 2561               ปี 2562                        ปี 2563
                                         หลัง           ก่อน           หลัง           ก่อน           หลัง

                           T1             66 A           60 A           82            112             102
                           T2             66 A           60             88            115             97
                                                           A
                           T3            54 AB          49              89             87             88
                                                          AB
                           T4            55 AB          49              81            124             84
                                                          AB
                           T5            63 AB          53              81            109             70
                                                          AB
                           T6            59 AB          53             101             95             97
                                                          AB
                           T7             50 B           44             86            104             74
                                                           B
                           T8            61 AB          55             101             85             128
                                                          AB
                         F-test           *               *             ns             ns             ns

                          % CV           14.33          16.06          25.33          25.11          35.68
                   หมายเหตุ : T = ตำรับการทดลองที่…n, ns = ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ, * = มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%


                   3. ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ระหว่างปี 2561-

                   2563
                       3.1 ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพที่มีผลต่อความสูงของข้าวที่อายุ 30 60 90 และ 120 วัน
                       หลังปักดำ

                          จากตารางที่ 9 ผลการศึกษาผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพที่มีผลต่อความสูงของข้าว ปี 2561 พบว่าทุกตำรับการทดลอง
                   ที่อายุ 30 วัน ระยะแตกกอ มีความสูงเฉลี่ย 67.11 เซนติเมตร โดยตำรับการทดลองที่ 3 มีความสูงที่สุดเท่ากับ 70.67
                   เซนติเมตร ตำรับการทดลองที่ 1 มีความสูงน้อยที่สุด เท่ากับ 63.67 เซนติเมตร ตำรับการทดลองที่ 3 ตำรับการทดลองที่
                   4 และตำรับการทดลองที่ 5 เปรียบเทียบกับตำรับการทดลองที่ 1 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความ
                   เชื่อมั่นที่ 95% ความสูงที่อายุ 60 วัน ระยะกำเนิดช่อดอก ทุกตำรับการทดลองมีความสูงเฉลี่ย 78.86 เซนติเมตร โดย
                   ตำรับการทดลองที่ 2 มีความสูงที่สุดเท่ากับ 83.93 เซนติเมตร ตำรับการทดลองที่ 1 มีความสูงน้อยที่สุด เท่ากับ 74.65

                   เซนติเมตร ทุกตำรับการทดลอง เปรียบเทียบกับตำรับการทดลองที่ 1 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
                   ความเชื่อมั่นที่ 95% ความสูงที่อายุ 90 วัน ระยะข้าวออกดอก ทุกตำรับการทดลองมีความสูงเฉลี่ย 118.52 เซนติเมตร
                   โดยตำรับการทดลองที่ 2 มีความสูงที่สุดเท่ากับ 121.35 เซนติเมตร ตำรับการทดลองที่ 1 มีความสูงน้อยที่สุด เท่ากับ
                   116.02 เซนติเมตร ทุกตำรับการทดลอง เปรียบเทียบกับตำรับการทดลองที่ 1 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
                   ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% และความสูงที่อายุ 120 วัน ระยะเก็บเกี่ยว ทุกตำรับการทดลองมีความสูงเฉลี่ย 122.85
                   เซนติเมตร โดยตำรับการทดลองที่ 2 มีความสูงที่สุดเท่ากับ 125.28 เซนติเมตร ตำรับการทดลองที่ 1 มีความสูงน้อยที่สุด
                   เท่ากับ 119.58 เซนติเมตร ทุกตำรับการทดลอง เปรียบเทียบกับตำรับการทดลองที่ 1 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ
                   ทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%
                          ปี 2562 พบว่าทุกตำรับการทดลองที่อายุ 30 วัน ระยะแตกกอ มีความสูงเฉลี่ย 66.62 เซนติเมตร โดยตำรับการ
                   ทดลองที่ 3 มีความสูงที่สุดเท่ากับ 70.20 เซนติเมตร ตำรับการทดลองที่ 1 มีความสูงน้อยที่สุด เท่ากับ 62.47 เซนติเมตร

                   ตำรับการทดลองที่ 3 เปรียบเทียบกับตำรับการทดลองที่ 1 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24