Page 18 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดสุรินทร์ Study efficiency of bio-fertilizer to increase growth and rice (Khao Dawk Mali 105) yield inSandy Loam soil, Surin Province.
P. 18
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% และหลังการทดลองพบว่า ทุกตำรับการทดลองมีปริมาณธาตุอาหารอยู่ในระดับต่ำ-ปานกลาง
แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
ตารางที่ 7 ปริมาณแคลเซียมที่เป็นประโยชน์ต่อพืชในดิน ระหว่างปี 2561- 2563
ตำรับ แคลเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน ระดับการประเมิน (mg/kg)
การทดลอง ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง
T1 754 BC 728 BC 728 B 889 AB 1188
T2 1366 A 1339 A 926 AB 989 A 1167
T3 723 BC 714 BC 745 B 908 A 1392
T4 805 BC 791 BC 849 B 852 AB 1021
T5 640 C 613 C 950 854 AB 1351
AB
T6 1081 AB 1047 AB 1567 AB 873 AB 1050
T7 686 BC 661 BC 810 B 907 A 1186
T8 840 BC 819 BC 911 AB 635 B 966
F-test * * * * ns
% CV 26.89 27.81 41.15 17.49 22.47
หมายเหตุ : T = ตำรับการทดลองที่…n, ns = ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ, * = มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%
2.7 ปริมาณแมกนีเซียมที่เป็นประโยชน์ต่อพืชในดิน ระหว่างปี 2561- 2563
จากตารางที่ 8 ผลการศึกษาปริมาณธาตุอาหารแมกนีเซียม ปี 2561 หลังการทดลอง พบว่าทุกตำรับการทดลอง
มีปริมาณธาตุอาหารอยู่ในระดับต่ำ โดยตำรับการทดลองที่ 1 และตำรับการทดลองที่ 2 มีปริมาณธาตุอาหารแมกนีเซียม
-1
สูงที่สุด เท่ากับ 66 mg kg (ต่ำ) ตำรับการทดลองที่ 5 มีปริมาณธาตุอาหารแมกนีเซียมน้อยที่สุด เท่ากับ 50 mg kg -1
(ต่ำ) ตำรับการทดลองที่ 1 ตำรับการทดลองที่ 2 และ ตำรับการทดลองที่ 7 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%
ปี 2562 ก่อน และหลังการทดลอง พบว่าทุกตำรับการทดลองมีปริมาณธาตุอาหารอยู่ในระดับต่ำ ก่อนการ
ทดลอง ตำรับการทดลองที่ 1 ตำรับการทดลองที่ 2 และ ตำรับการทดลองที่ 7 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% และหลังการทดลองทุกตำรับการทดลองไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
และปี 2563 ก่อน และหลังการทดลอง พบว่าทุกตำรับการทดลองมีปริมาณธาตุอาหารอยู่ในระดับต่ำ และไม่มีความ
แตกต่างกันทางสถิติ