Page 22 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดสุรินทร์ Study efficiency of bio-fertilizer to increase growth and rice (Khao Dawk Mali 105) yield inSandy Loam soil, Surin Province.
P. 22
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
3.2 ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพที่มีผลต่อการแตกกอ ที่อายุ 120 วัน หลังปักดำ
จากตารางที่ 10 ผลการศึกษาผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพที่มีผลต่อการแตกอ พบว่าปี 2561 ทุกตำรับการทดลองมีการ
แตกกอสูงสุดเฉลี่ย 7.58 ต้นต่อกอ โดยตำรับการทดลองที่ 2 มีผลต่อการแตกกอสูงที่สุดเท่ากับ 7.75 ต้นต่อกอ ตำรับการ
ทดลองที่ 1 มีผลต่อการแตกกอน้อยที่สุด เท่ากับ 7.46 ต้นต่อกอ ตำรับการทดลองที่ 2 ตำรับการทดลองที่ 3 และตำรับ
การทดลองที่ 6 เปรียบเทียบกับ ตำรับการทดลองที่ 1 ตำรับการทดลงที่ 4 ตำรับการทดลองที่ 5 และตำรับการทดลองที่
7 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%
ปี 2562 พบว่า ทุกตำรับการทดลองมีการแตกกอสูงสุดเฉลี่ย 8.83 ต้นต่อกอ โดยตำรับการทดลองที่ 4 และ
ตำรับการทดลงที่ 5 มีผลต่อการแตกกอสูงที่สุดเท่ากับ 10.67 ต้นต่อกอ ตำรับการทดลองที่ 3 มีผลต่อการแตกกอน้อย
ที่สุด เท่ากับ 6.00 ต้นต่อกอ ตำรับการทดลองที่ 4 และตำรับการทดลงที่ 5 เปรียบเทียบกับตำรับการทดลองที่ 3 มีความ
แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%
และปี 2563 พบว่า ทุกตำรับการทดลองมีการแตกกอสูงสุดเฉลี่ย 5.25 ต้นต่อกอ ทุกตำรับการทดลองไม่มีความ
แตกต่างกันทางสถิติ
ตารางที่ 10 ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพที่มีผลต่อการแตกกอ ที่อายุ 120 วัน หลังปักดำ
การเจริญเติบโตด้านการแตกกอสูงสุด (ต้นต่อกอ)
ตำรับการทดลอง
ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
T1 7.46 7.67 4.67
AB
A
C
T2 7.75 9.67 5.33
A
A
AB
T3 7.66 6.00 5.00
A
B
A
T4 7.50 10.67 5.67
C
A
A
T5 7.51 10.67 5.00
A
A
C
T6 7.67 7.00 5.00
A
AB
A
T7 7.51 9.33 6.00
A
AB
C
T8 7.55 9.67 5.33
AB
BC
A
ค่าเฉลี่ย 7.58 8.83 5.25
F-test * * ns
CV % 0.86 27.51 16.82
หมายเหตุ : T = ตำรับการทดลองที่…n, ns = ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ, * = มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%
3.3 ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพที่มีผลต่อจำนวนรวงต่อกอ ที่อายุ 120 วัน หลังปักดำ
จากตารางที่ 11 ผลการศึกษาผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพที่มีผลต่อจำนวนรวงต่อกอ พบว่าปี 2561 ทุกตำรับการ
ทดลองมีจำนวนรวงต่อกอเฉลี่ย 7.71 รวงต่อกอ โดยตำรับการทดลองที่ 2 มีผลต่อจำนวนรวงต่อกอสูงที่สุดเท่ากับ 7.97
รวงต่อกอ ตำรับการทดลองที่ 5 มีผลต่อจำนวนรวงต่อกอน้อยที่สุด เท่ากับ 7.51 รวงต่อกอ ตำรับการทดลองที่ 2
เปรียบเทียบกับทุกตำรับการทดลอง มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%
ปี 2562 ทุกตำรับการทดลองมีจำนวนรวงต่อกอเฉลี่ย 11.84 รวงต่อกอ โดยทุกตำรับการทดลอง ไม่มีความ
แตกต่างกันทางสถิติ
และในปี 2563 พบว่าทุกตำรับการทดลองมีจำนวนรวงต่อกอเฉลี่ย13.58 รวงต่อกอ โดยตำรับการทดลองที่ 7 มี
ผลต่อจำนวนรวงต่อกอสูงที่สุดเท่ากับ 18.33 รวงต่อกอ ตำรับการทดลองที่ 1 มีผลต่อจำนวนรวงต่อกอน้อยที่สุด เท่ากับ