Page 14 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดสุรินทร์ Study efficiency of bio-fertilizer to increase growth and rice (Khao Dawk Mali 105) yield inSandy Loam soil, Surin Province.
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                   ตารางที่ 3 ความเค็มของดิน EC (1:5) ตามประเภทของเนื้อดิน (dS/m) ของดิน ระหว่างปี 2561- 2563

                          ตำรับ                      ค่าความเค็มของดิน (1:5) ตามประเภทของเนื้อดิน (dS/m)
                       การทดลอง        ปี 2561                ปี 2562                        ปี 2563
                                         หลัง           ก่อน            หลัง           ก่อน           หลัง

                          T1            0.16 B          0.14 B         0.14           0.05 B          0.06
                          T2            0.26 A          0.23 A         0.23           0.06 AB         0.06

                          T3            0.15 B          0.13 B         0.13           0.06 AB         0.08
                          T4            0.18            0.17 B         0.17           0.05 AB         0.06
                                            B
                          T5            0.18 B          0.17 B         0.17           0.04 B          0.05
                          T6            0.18 B          0.16 B         0.16           0.08 A          0.09

                          T7            0.16 B          0.14 B         0.14           0.04 B          0.05
                          T8            0.15 B          0.13 B         0.13           0.04 B          0.05
                         F-test           *              *              ns              *              ns

                         % CV           18.05          19.55           36.08          29.57           47.94
                   หมายเหตุ : T = ตำรับการทดลองที่…n, ns = ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ, * = มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%



                       2.3 ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM)
                          จากตารางที่ 4 ผลการศึกษาปริมาณอินทรียวัตถุ ในปี 2561 หลังการทดลอง พบว่าทุกตำรับการทดลองมี
                   ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในระดับต่ำถึงต่ำมาก (0.36-0.73 เปอร์เซ็นต์) โดยตำรับการทดลองที่ 4 มีปริมาณอินทรียวัตถุ
                   สูงสุด เท่ากับ 0.73 เปอร์เซ็นต์ (ต่ำ) ในปี 2562 ก่อน และหลังการทดลอง พบว่าทุกตำรับการทดลองมีปริมาณ
                   อินทรียวัตถุอยู่ในระดับต่ำถึงต่ำมาก (0.42-0.69 เปอร์เซ็นต์) โดยตำรับการทดลองที่ 2 และ ตำรับการทดลองที่ 4 มี
                   ปริมาณอินทรียวัตถุสุงสุด เท่ากับ 0.69 เปอร์เซ็นต์ (ต่ำ) และปี 2563 พบว่าทุกตำรับการทดลองมีปริมาณอินทรียวัตถุอยู่
                   ในระดับต่ำถึงต่ำมาก (0.49-1.17 เปอร์เซ็นต์) โดยตำรับการทดลองที่ 2 มีปริมาณอินทรียวัตถุสุงสุด เท่ากับ 1.17
                   เปอร์เซ็นต์ (ค่อนข้างต่ำ) ตำรับการทดลองที่ 2 กับทุกตำรับการทดลอง มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ

                   ความเชื่อมั่นที่ 95% และหลังการทดลอง พบว่าทุกตำรับการทดลองมีปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในระดับต่ำถึงต่ำมาก (0.45-
                   0.88 เปอร์เซ็นต์) โดยตำรับการทดลองที่ 6 มีปริมาณอินทรียวัตถุ สูงสุด เท่ากับ 0.88 เปอร์เซ็นต์ (ต่ำ)
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19