Page 15 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดสุรินทร์ Study efficiency of bio-fertilizer to increase growth and rice (Khao Dawk Mali 105) yield inSandy Loam soil, Surin Province.
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                   ตารางที่ 4 ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) ระหว่างปี 2561- 2563
                          ตำรับ                               ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (%)
                        การทดลอง        ปี 2561               ปี 2562                        ปี 2563

                                         หลัง           ก่อน           หลัง           ก่อน           หลัง
                           T1           0.62 ABC       0.58 AB        0.58 AB         0.64           0.63 A

                           T2            0.71 A         0.69 A         0.69 A         0.57           0.57 AB
                           T3           0.56 ABC       0.52 AB        0.52 AB         0.72           0.75 AB
                           T4            0.73 A         0.69 A        0.69 AB         0.52           0.68 AB
                           T5           0.65 AB        0.62 AB        0.62 AB         0.56           0.65 AB

                           T6           0.61 ABC       0.58 AB        0.58 AB         0.53           0.88 A
                           T7            0.36 C        0.43 AB         0.43 B         0.49           0.55 AB
                           T8           0.44 BC         0.42 B         0.42 B         0.66           0.45 B
                         F-test           *               *              *             ns              *

                          % CV           25.98          26.73          27.29          36.85          28.93
                   หมายเหตุ : T = ตำรับการทดลองที่…n, * = มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%

                       2.4 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืชในดิน (P) ระหว่างปี 2561- 2563

                          จากตารางที่ 5 ผลการศึกษาธาตุอาหารฟอสฟอรัสในปี 2561 หลังการทดลอง พบว่าทุกตำรับการทดลองมีธาตุ
                                                    -1
                   อาหารฟอสฟอรัสอยู่ระหว่าง 8-28 mg kg  โดยตำรับการทดลองที่ 2   มีปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
                                             -1
                                                                                          -1
                   ต่อพืชสูงที่สุด เท่ากับ 28 mg kg รองลงมาได้แก่ตำรับการทดลองที่ 1 เท่ากับ 27 mg kg (สูง) ตำรับการทดลองที่ 3
                                                                            -1
                   ตำรับการทดลองที่ 4 ตำรับการทดลองที่ 6 เท่ากับ 13 15 และ 14 mg kg (ปานกลาง) ตามลำดับ ตำรับการทดลองที่ 5
                                                                                                      -1
                   และตำรับการทดลองที่ 8  มีปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืชต่ำ เท่ากับ 8 และ 9 mg kg  ตามลำดับ
                   ตำรับการทดลองที่ 2 และตำรับการทดลองที่ 5 ตำรับการทดลองที่ 7 ตำรับการทดลองที่ 8 มีความแตกต่างอย่างมี
                   นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%
                                                                                                           -1
                          ปี 2562 ก่อนการทดลอง พบว่าทุกตำรับการทดลองมีธาตุอาหารฟอสฟอรัสอยู่ระหว่าง 6-25 mg kg  โดย
                                                                                                   -1
                   ตำรับการทดลองที่ 2   มีปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืชสูงที่สุด เท่ากับ 25 mg kg รองลงมาได้แก่
                   ตำรับการทดลองที่ 1 ตำรับการทดลองที่ 3 ตำรับการทดลองที่ 4 และตำรับการทดลองที่ 6 เท่ากับ 11 11 13 และ 12 mg
                     -1
                   kg (ปานกลาง) ตามลำดับ ตำรับการทดลองที่ 5 ตำรับการทดลองที่ 7 และตำรับการทดลองที่ 8  มีปริมาณธาตุอาหาร
                                                                     -1
                   ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืชต่ำ เท่ากับ 6 9 และ 8 mg kg  ตามลำดับ  ตำรับการทดลองที่ 2 และทุกตำรับการ
                   ทดลอง มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% หลังการทดลอง พบว่าทุกตำรับการทดลอง
                                                           -1
                   มีธาตุอาหารฟอสฟอรัสอยู่ระหว่าง 14-29  mg kg  โดยตำรับการทดลองที่ 6   มีปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่เป็น
                                                    -1
                   ประโยชน์ต่อพืชสูงที่สุด เท่ากับ 29 mg kg รองลงมาได้แก่ตำรับการทดลองที่ 1 ตำรับการทดลองที่ 2 ตำรับการทดลองที่
                                                                                         -1
                   4 ตำรับการทดลองที่ 5 และตำรับการทดลองที่ 8 เท่ากับ 17 20 20 18 และ 17 mg kg (สูง) ตามลำดับ ตำรับการ
                   ทดลองที่ 3 และตำรับการทดลองที่ 3  มีปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืชปานกลาง เท่ากับ 14 mg
                     -1
                   kg  ตามลำดับ  ตำรับการทดลองที่ 6 และตำรับการทดลองที่ 3 ตำรับการทดลองที่ 7 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ
                   ทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%
                                                                                                               -1
                          และปี 2563 ก่อนการทดลอง พบว่าทุกตำรับการทดลองมีธาตุอาหารฟอสฟอรัสอยู่ระหว่าง 12-22  mg kg
                                                                                                       -1
                   โดยตำรับการทดลองที่ 6   มีปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพืชสูงที่สุด เท่ากับ 22 mg kg รองลงมา
                                                                                 -1
                   ได้แก่ตำรับการทดลองที่ 2 และตำรับการทดลองที่ 4 เท่ากับ 19 และ 16 mg kg (สูง) ตามลำดับ ตำรับการทดลองที่ 1
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20