Page 33 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          23


                   ตารางที่ 4 สัดส่วนที่เหมาะสมของแมงกานีสกับธาตุอาหารบางชนิดในดินบริเวณพื นที่ปลูกชาน ้ามัน
                           ธาตุอาหาร           ช่วงที่                  สัดส่วนธาตุอาหารที่เหมาะสม

                          (วิธีวิเคราะห์)     เพียงพอ   Mn/P  Mn/K     Mn/Ca    Mn/Mg  Mn/S  Mn/Cu  Mn/Zn
                                              (mg/kg)
                   Avai. P (Bray II)           1/ 10-15   2.5-4.1
                   Exch. K (1 M NH  OAc pH 7.0)   1/ 60-90      0.4-0.5
                               4
                   Exch. Ca (1 M NH  OAc pH 7.0)   1/ 1000-2000         0.0002-0.007
                                4
                   Exch. Mg (1 M NH  OAc pH 7.0)   1/ 120-365                   0.04-0.2
                                4
                   Extr. S (0.5 M NH  OAc pH 7.0)   1/ 11-20                            0.7-1.8
                                4
                   Extr. Cu (DTPA extraction)   2/ 0.9-1.2                                     6.2-19.9
                   Extr. Zn (DTPA extraction)   2/ 1.1-3.0                                             0.2-14.3
                   หมายเหตุ :  ส้านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (2547ข)
                              1/
                              2/ Jones (2001)


                   3. สถานะธาตุอาหารในดินจ้าแนกตามระดับผลผลิต
                          จากผลวิเคราะห์ธาตุอาหารในดินจากต้นที่ให้ผลผลิตแตกต่างกัน จ้านวน 103 ต้น แบ่งเป็น ต้นเกรด

                   A (ผลผลิตสูง >100 ผลต่อต้น) ต้นเกรด B (ผลผลิตปานกลาง 50-100 ผลต่อต้น) ต้นเกรด C (ผลผลิตต่้า <50
                   ผลต่อต้น) และต้นเกรด D (ไม่ให้ผลผลิต) จ้านวน 39, 18, 22 และ 24 ต้น ตามล้าดับ พบว่า ปริมาณ

                   อินทรียวัตถุ (ภาพที่ 11b) และฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (ภาพที่ 11c) บริเวณต้นชาน ้ามันแต่ละเกรด ไม่มี

                   ความแตกต่างทางสถิติ มีความเข้มข้นอยู่ในช่วง 31.46-38.82 ก/กก. และ 6.95-20.12 มก./กก. ตามล้าดับ
                   อย่างไรก็ตาม ระดับความเข้มข้นของธาตุอาหารในต้นเกรด A และ B มีแนวโน้มสูงกว่าต้นเกรด C และ D

                   ในขณะที่ พีเอชของดิน และปริมาณธาตุอาหารชนิดอื่นในแต่ละกลุ่มเกรด พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติ

                   อย่างมีนัยส้าคัญ โดยเมื่อพีเอชดิน (ภาพที่ 11a) ปริมาณโพแทสเซียม (ภาพที่ 11d) แคลเซียม (ภาพที่ 11e)
                   แมกนีเซียม (ภาพที่ 11f) ที่แลกเปลี่ยนได้ และปริมาณแมงกานีสที่สกัดได้ (ภาพที่ 11g) ลดลง ส่งผลให้

                   ผลผลิตชาน ้ามันลดลง โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกรณีของต้นเกรด A ซึ่งให้ผลผลิตสูงสุด กับต้นเกรด D ที่
                   ไม่ให้ผลผลิต พบว่า ดินบริเวณต้นเกรด A มีพีเอช และปริมาณธาตุอาหารชนิดอื่น สูงกว่าต้นเกรด D อย่าง

                   เด่นชัด และเมื่อพิจารณาจากสัดส่วนของแมงกานีสที่สกัดได้กับธาตุอาหารชนิดอื่นในดิน พบว่า สัดส่วนของ

                   แมงกานีส/ฟอสฟอรัส ในแต่ละกลุ่มเกรดไม่มีความแตกต่างทางสถิติ แต่ในดินบริเวณต้นที่ให้ผลผลิตสูงอย่าง
                   ต้นเกรด A มีสัดส่วนที่สูงกว่าต้นที่ให้ผลผลิตต่้ากว่า (ภาพที่ 12a) ในขณ ะที่สัดส่วนของ

                   แมงกานีส/โพแทสเซียม (ภาพที่ 12b) แมงกานีส/แคลเซียม (ภาพที่ 12c) และแมงกานีส/แมกนีเซียม (ภาพที่
                   12d) ของต้นที่ให้ผลผลิตสูง พบว่า ค่ามีแนวโน้มต่้ากว่าต้นที่ไม่ให้ผลผลิต โดยเฉพาะกรณีสัดส่วนของ

                   แมงกานีส/โพแทสเซียม บริเวณต้นเกรด A มีสัดส่วนเท่ากับ 0.23 ต่้ากว่า ต้นเกรด D ที่มีค่า 0.41 ซึ่งมีความ

                   แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ ชี ให้เห็นว่า สัดส่วนความสมดุลของธาตุอาหารในดินมีผลต่อระดับผลผลิต
                   ชาน ้ามัน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38