Page 35 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 35
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
25
นอกจากนี เมื่อพิจารณาสัดส่วนของแมงกานีสกับธาตุอาหารชนิดต่าง ๆ ในแต่ละกลุ่มเกรด หากเปรียบเทียบ
กับค่าแนะน้าเบื องต้นที่ได้จากการศึกษาในครั งนี (ตารางที่ 4) พบว่า ทั งหมดยังอยู่ในช่วงที่ไม่เหมาะสม จึง
ควรปรับความสมดุลของธาตุอาหารในทุกกลุ่ม อย่างไรก็ตาม จากผลวิเคราะห์ความเข้มข้นธาตุอาหารบริเวณ
ต้นเกรด A ซึ่งเป็นกลุ่มที่ให้ผลผลิตสูงสุดในพื นที่ อาจน้ามาใช้ก้าหนดระดับธาตุอาหารที่เหมาะสมในดิน
ส้าหรับใช้แนะน้าเกษตรกรเบื องต้น
ภาพที่ 12 สัดส่วนของ แมงกานีส/ฟอสฟอรัส (a) แมงกานีส/โพแทสเซียม (b) แมงกานีส/แคลเซียม (c) และ
แมงกานีส/แมกนีเซียม (d) ในดินปลูกชาน ้ามันที่ให้ผลผลิตแตกต่างกัน ได้แก่ A = ผลผลิต >100 ผล/ต้น
B = ผลผลิต 50-100 ผล/ต้น C = ผลผลิต <50 ผล/ต้น และ D = ไม่ให้ผลผลิต ค่าเฉลี่ยที่ก้ากับด้วยตัวอักษร
ต่างกัน แสดงถึงมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ ns = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ จากการ
เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยวิธี HSD, SE = ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน
4. สถานะธาตุอาหารในใบชาน ้ามันจ้าแนกตามระดับผลผลิต
จากผลวิเคราะห์ธาตุอาหารในใบชาน ้ามันจากต้นที่ให้ผลผลิตแตกต่างกัน จ้านวน 103 ต้น แบ่งเป็น
ต้นเกรด A (ผลผลิตสูง >100 ผลต่อต้น) ต้นเกรด B (ผลผลิตปานกลาง 50-100 ผลต่อต้น) ต้นเกรด C
(ผลผลิตต่้า <50 ผลต่อต้น) และต้นเกรด D (ไม่ให้ผลผลิต) จ้านวน 39, 18, 22 และ 24 ต้น ตามล้าดับ พบว่า
ความเข้มข้นของไนโตรเจน (ภาพที่ 13a) ทองแดง (ภาพที่ 14a) สังกะสี (ภาพที่ 14c) และเหล็ก (ภาพที่
14d) ในใบของต้นชาน ้ามันแต่ละเกรด ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ มีความเข้มข้นอยู่ในช่วง 15.53-15.88,
9.41-10.94, 16.83-18.28 และ 103.71-154.39 ก/กก. ตามล้าดับ อย่างไรก็ตาม ระดับความเข้มข้นของธาตุ
อาหารในต้นเกรด A และ B มีแนวโน้มสูงกว่าต้นเกรด C และ D โดยเฉพาะกรณีของทองแดง สังกะสี และ
เหล็ก แสดงให้เห็นว่า ผลผลิตมีแนวโน้มลดลงตามความเข้มข้นของธาตุชนิดดังกล่าวในใบชาน ้ามัน ส่วนความ