Page 36 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 36
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
26
เข้มข้นของธาตุอาหารชนิดอื่นในแต่ละกลุ่มเกรด พบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ โดยที่ ความ
เข้มข้นของฟอสฟอรัส (ภาพที่ 13b) และก้ามะถัน (ภาพที่ 13f) ในใบของต้นเกรด A มีความเข้มข้นต่้าสุด
0.90 และ 0.57 ก/กก. ตามล้าดับ ในขณะที่ต้นเกรด B, C และ D ไม่มีความแตกต่างกัน มีความเข้มข้นของ
ฟอสฟอรัสและก้ามะถันอยู่ในช่วง 1.07-1.10 และ 0.85-0.98 ก/กก. ตามล้าดับ เช่นเดียวกับความเข้มข้น
ของโพแทสเซียม พบว่า ต้นเกรด A ค่าความเข้มข้นมีแนวโน้มต่้าสุด 4.90 ก/กก. แต่ไม่แตกต่างกับต้นเกรด B
และ D ซึ่งมีความเข้มข้นโพแทสเซียมอยู่ในช่วง 5.54-5.59 ก/กก. (ภาพที่ 13c) ในเบื องต้นจึง ชี ให้เห็นว่า
ฟอสฟอรัส ก้ามะถัน และโพแทสเซียมอาจไม่ได้เป็นธาตุที่เป็นปัจจัยจ้ากัดการให้ผลผลิตของชาน ้ามันในล้าดับ
ต้น ๆ ถึงแม้สถานะธาตุอาหารในดินบางชนิดธาตุอยู่ในระดับต่้ากว่าค่ามาตรฐานแนะน้า เนื่องจากความ
เข้มข้นในใบของต้นที่ให้ผลผลิตสูงกับต้นที่ไม่ให้ผลผลิตไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ส่วนความเข้มข้นของ
แคลเซียม (ภาพที่ 13d) และแมกนีเซียม (ภาพที่ 13e) พบว่า มีแนวโน้มลดลงตามระดับผลิต ต้นเกรด A มี
ความเข้มข้นของแคลเซียมและแมกนีเซียมสูงสุด 12.76 และ 2.12 ก/กก. ตามล้าดับ แต่ไม่แตกต่างกับต้น
เกรด B และ C ซึ่งมีความเข้มข้นแคลเซียมและแมกนีเซียมอยู่ในช่วง 11.38-12.02 และ 1.86-1.98 ก/กก.
ตามล้าดับ ในขณะที่ ต้นเกรด D มีปริมาณความเข้มข้นของแคลเซียมและแมกนีเซียมต่้าสุด 10.87 และ 1.71
ก/กก. ตามล้าดับ แสดงให้เห็นว่า ธาตุชนิดดังกล่าวอาจเป็นปัจจัยจ้ากัดการให้ผลผลิตของชาน ้ามันในพื นที่
เนื่องจากอยู่ในสภาวะที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช ในทางกลับกัน ความเข้มข้นของแมงกานีสในใบ
ของต้นชาน ้ามันแต่ละกลุ่มเกรด มีแนวโน้มเพิ่มขึ นเมื่อต้นชาน ้ามันให้ผลผลิตลดลงอย่างเด่นชัด พบว่า ความ
เข้มข้นในต้นเกรด A ต่้าสุด 1,725 ก/กก. ในขณะที่ต้นเกรด C และ D มีความเข้มข้นของแมงกานีสสูงสุด
2,341 และ 2,583 ก/กก. ตามล้าดับ (ภาพที่ 14b) ชี ให้เห็นว่า ความเข้มข้นแมงกานีสที่เพิ่มขึ นส่งผลให้ต้นชา
น ้ามันได้รับผลผลิตลดลง และในทุกกลุ่มเกรด มีการสะสมแมงกานีสอยู่ในระดับสูงเกินความจ้าเป็น และอาจ
อยู่ในระดับที่เป็นพิษ เนื่องจากพบลักษณะใบชาน ้ามันที่มีจุดด่างสีน ้าตาลบริเวณแผ่นใบ (ภาพที่ 15) และจาก
ผลวิเคราะห์สถานะธาตุอาหารในใบชาน ้ามันที่มีลักษณะดังกล่าวเทียบกับใบปกติ พบว่า การสะสมธาตุอาหาร
บางชนิดมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยส้าคัญ โดยใบที่มีจุดด่างสีน ้าตาลมีการสะสมแมงกานีส
(ภาพที่ 16c) และทองแดง (ภาพที่ 16d) 1,711 และ 34 มก./กก. สูงกว่าใบปกติ 877 และ 19 มก./กก.
ตามล้าดับ แต่มีการสะสมไนโตรเจนอยู่ในระดับต่้ากว่า (ภาพที่ 16b) ในขณะที่ การสะสมคาร์บอนในใบไม่มี
ความแตกต่างกัน (ภาพที่ 16a) ชี ให้เห็นว่า ความแตกต่างของระดับธาตุอาหารในใบ ไม่ได้มีสาเหตุจากอายุใบ
ที่ต่างกัน จึงมีความเป็นไปได้ว่าความเข้มข้นแมงกานีสที่สูงน่าจะเป็นสาเหตุหนึ่งที่เป็นปัจจัยจ้ากัดผลผลิตชา
น ้ามัน อย่างไรก็ตาม จากผลวิเคราะห์ความเข้มข้นธาตุอาหารชนิดอื่นในใบของต้นเกรด A ซึ่งเป็นกลุ่มที่ให้
ผลผลิตสูงสุดในพื นที่ อาจน้ามาใช้ก้าหนดระดับธาตุอาหารที่เหมาะสมในพืช ส้าหรับใช้แนะน้าเกษตรกร
เบื องต้น