Page 30 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          20


                                                          ผลการทดลอง


                   1. ผลวิเคราะห์ดิน
                          จากผลวิเคราะห์ดินจ้านวน 245 ตัวอย่าง ในบริเวณพื นที่ปลูกชาน ้ามัน ของหมู่บ้านปางมะหัน ต้าบล

                   เทอดไทย อ้าเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย พบว่า ดินบริเวณพื นที่ดังกล่าว มีค่าพีเอช อยู่ในช่วง 4.5-6.4
                   และมีค่ากลาง เท่ากับ 5.4 (ภาพที่ 8a) ชี ให้เห็นว่า พื นที่ปลูกชาน ้ามันมีปัญหาความเป็นกรด อย่างไรก็ตาม

                   ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในระดับสูง พบค่า อยู่ในช่วง 27-80 ก/กก. มีค่ากลาง 48.3 ก/กก. (ภาพที่ 8b)

                   ในขณะที่ธาตุอาหารประจุลบ ได้แก่ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และก้ามะถันที่สกัดได้ มีค่าอยู่ในช่วง 1-26
                   และ 3.6-13.8 มก./กก. มีค่ากลาง 6.4 และ 8.7 มก./กก. ตามล้าดับ (ภาพที่ 8c) ซึ่งค่าที่ได้อยู่ในช่วงต่้ากว่า

                   ค่ามาตรฐานโดยทั่วไป ส่วนธาตุอาหารประจุบวกด่าง ได้แก่ โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมที่

                   แลกเปลี่ยนได้ มีค่าอยู่ในช่วง 67-590, 21-635 และ 35-391 มก./กก. มีค่ากลาง 299, 248 และ 166 มก./
                   กก. ตามล้าดับ (ภาพที่ 8d) ทั งนี เมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน พบว่า โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้อยู่ใน

                   ระดับสูง แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ อยู่ในระดับต่้า ส่วนแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้อยู่ในระดับปานกลาง
                   (ส้านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547ข) นอกจากนี  ปริมาณจุลธาตุในดิน ได้แก่ ทองแดง และสังกะสีที่

                   สกัดได้ พบว่า อยู่ในระดับต่้า พบค่าอยู่ในช่วง   0.4-2.4 และ 0.3-2.0 มก./กก. มีค่ากลาง 0.8 และ 0.7 มก./

                   กก. ตามล้าดับ แต่กลับพบว่า ปริมาณแมงกานีสที่สกัดได้มีค่าสูง (Jones, 2001) พบค่าอยู่ในช่วง 10-54 มก./
                   กก. และมีค่ากลาง 25 มก./กก. (ภาพที่ 8e) จากผลวิเคราะห์ดิน แสดงให้เห็นว่า ระดับธาตุอาหารบางชนิดที่

                   อยู่ในช่วงต่้ากว่าเกณฑ์มาตรฐานแนะน้า ได้แก่ ฟอสฟอรัส ก้ามะถัน แคลเซียม ทองแดง และสังกะสี อาจเป็น
                   ผลสืบเนื่องจากอันตรกิริยาเชิงลบของแมงกานีสที่มีผลต่อระดับความเข้มข้นของธาตุอาหารชนิดอื่นในดิน


                   2. สัดส่วนความสัมพันธ์ของแมงกานีสกับธาตุอาหารบางชนิดในดินบริเวณพื นที่ศึกษา

                          จากการน้าผลวิเคราะห์ดินมาหาความสัมพันธ์ระหว่างสัดส่วนของแมงกานีสที่สกัดได้กับธาตุอาหาร

                   บางชนิดในดิน ประกอบด้วย ธาตุประจุบวกด่าง ได้แก่ โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยน
                   ได้  (ภาพที่ 9a-9c) จุลธาตุบางชนิด ได้แก่ ทองแดง และสังกะสีที่สกัดได้ (ภาพที่ 9d-9e) ธาตุที่มีประจุลบ

                   ได้แก่ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และก้ามะถันที่สกัดได้ (ภาพที่ 10a-10b) พบว่า ระดับความเข้มข้นของธาตุ

                   อาหารในดินทุกชนิดที่ท้าการทดสอบมีความสัมพันธ์กับสัดส่วนของแมงกานีสที่สกัดได้ รูปแบบความสัมพันธ์ที่
                   เกิดขึ นจะมีลักษณะผกผันกับสัดส่วนของแมงกานีส โดยระดับความเข้มข้นของธาตุอาหารชนิดอื่นจะลดลงเมื่อ

                   ความเข้มข้นของแมงกานีสเพิ่มขึ น แสดงให้เห็นถึง อันตรกิริยาเชิงลบของแมงกานีสในดินที่ส่งผลต่อธาตุ
                   อาหารชนิดอื่นอย่างเด่นชัด โดยเฉพาะกรณีของแคลเซียม และแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ฟอสฟอรัสที่เป็น

                                                                                                     2
                   ประโยชน์ รวมถึงก้ามะถันและสังกะสีที่สกัดได้ จากผลทดสอบ ได้ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R ) เท่ากับ
                   0.72, 0.76 (ภาพที่ 9b-9c), 0.69, 0.64 (ภาพที่ 10a-10b) และ 0.53 (ภาพที่ 9e) ตามล้าดับ สอดคล้องกับ
                   ระดับความเข้มข้นของธาตุอาหารชนิดดังกล่าวในพื นที่โดยรวม ซึ่งพบว่าอยู่ในระดับต่้ากว่าค่าแนะน้า

                   นอกจากนี  เมื่อหาสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างแมงกานีสที่สกัดได้กับธาตุอาหารชนิดอื่นในดิน โดยพิจารณา
                   จากระดับธาตุอาหารในช่วงที่เพียงพอ พบว่า สัดส่วนที่เหมาะสมของแมงกานีสที่สกัดได้ต่อธาตุอาหารชนิดอื่น

                   อยู่ในช่วงต่าง ๆ ได้แก่ แมงกานีส/ฟอสฟอรัส 2.5-4.1, แมงกานีส/โพแทสเซียม 0.4-0.5, แมงกานีส/
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35