Page 11 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 11
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
1
หลักการและเหตุผล
ชาน ้ามัน (Camellia oleifera Able.) เป็นพืชเศรษฐกิจชนิดใหม่ที่สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรในเขต
พื นที่สูงบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย อีกทั งช่วยแก้ไขปัญหาป่าเสื่อมโทรมและป้องกันการกัดเซาะ
พังทลายของหน้าดินบริเวณเชิงเขา ปัจจุบันมีพื นที่ปลูก ประมาณ 4,000 ไร่ ภายใต้โครงการศึกษาและ
พัฒนาการปลูกชาน ้ามัน ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการของมูลนิธิชัยพัฒนาที่ด้าเนินงานสนองพระราชด้าริสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยจัดตั งศูนย์วิจัยและพัฒนาชาน ้ามัน และพืชน ้ามัน เพื่อเป็น
โรงงานผลิตน ้ามันจากเมล็ดชา และพืชน ้ามันอื่น ๆ ซึ่งโรงงานจะผลิตน ้ามันคุณภาพสูง ส้าหรับการบริโภค
และท้าผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เช่น เครื่องส้าอาง ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เนื่องจากน ้ามันที่ได้จากเมล็ดชามีกรดไขมัน
ไม่อิ่มตัวสูง และมีสัดส่วนของกรดไขมันชนิดต่าง ๆ ใกล้เคียงกับน ้ามันมะกอก จนได้รับการขนานนามว่าเป็น
น ้ามันมะกอกแห่งตะวันออก สอดคล้องกับการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์การอาหาร ที่พบว่าน ้ามันเมล็ดชามี
สัดส่วนของกรดไขมันชนิดต่าง ๆ ที่ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค มีสรรพคุณทางการแพทย์ในการช่วย
ป้องกันไขมันอุดตันในเส้นเลือด ผลิตภัณฑ์จากเมล็ดชาจึงเป็นที่ต้องการของตลาด และนับเป็นพืชเศรษฐกิจที่
มีบทบาทในการสร้างรายได้ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนแก่เกษตรกรในพื นที่ (มูลนิธิชัยพัฒนา, 2562)
การปลูกชาน ้ามันให้ได้ทั งปริมาณผลผลิต และมีคุณภาพ แต่ยังคงความความอุดมสมบูรณ์ของดินไว้
ในกระบวนการปลูกจ้าเป็นต้องมีการจัดการดูแลตามหลักวิชาการ โดยเฉพาะการจัดการธาตุอาหาร เป็นปัจจัย
หลักที่ควบคุมปริมาณ และคุณภาพของของผลผลิต แต่ในปัจจุบันค่ามาตรฐานของระดับธาตุอาหารที่
เหมาะสมในชาน ้ามัน ส้าหรับใช้แนะน้าปุ๋ยยังไม่พบรายงานการศึกษา ถึงระดับธาตุอาหารในช่วงขาดแคลน
(deficient) ต่้า (low) เพียงพอ (sufficient) หรือสูงเกินไป (excessive) โดยทั่วไปเกษตรกรใส่ปุ๋ยเคมีสูตร
15-15-15 วิธีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันจึงอาจไม่เหมาะสม อาจส่งผลให้ชาน ้ามันได้รับธาตุอาหารไม่เพียงพอ หรือมาก
เกินไป ท้าให้เกิดความไม่สมดุลของธาตุอาหารในดิน เช่น ในกรณีของลองกองที่ขาดแคลเซียม และ
แมกนีเซียม พบว่า มีโพแทสเซียมในใบเกินความต้องการ หรือในกรณีของฟอสฟอรัสหากมีการใส่ปุ๋ยมาก
เกินไป ฟอสฟอรัสอาจไปลดความเป็นประโยชน์ของสังกะสี (จ้าเป็น และคณะ, 2549) หรือในกรณีของปาล์ม
น ้ามัน พบความสัมพันธ์แบบผกผันระหว่างโพแทสเซียม และแมกนีเซียม (สุนีย์ และคณะ, 2540) การใส่ปุ๋ย
โพแทสเซียมในอัตราสูงกว่า 3.5 กก./ต้น/ปี ท้าให้แมกนีเซียมในใบปาล์มน ้ามันลดลงจาก 3.7 เป็น 2.5 ก/กก.
(ชัยรัตน์, 2548)
ดังนั น จึงจ้าเป็นต้องจัดท้าค่ามาตรฐานของธาตุอาหารชนิดต่าง ๆ ในชาน ้ามัน เพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัย
ระดับธาตุอาหาร ส้าหรับให้ค้าแนะน้าปุ๋ยแก่เกษตรกร ซึ่งสามารถท้าได้โดยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง
ความเข้มข้นของธาตุอาหารในดิน หรือพืชกับปริมาณผลผลิต การสร้างความสัมพันธ์ดังกล่าวในกรณีของพืช
อายุสั น สามารถด้าเนินการโดยการปลูกพืชในแปลงทดสอบที่ให้ระดับธาตุอาหารแตกต่างกัน (de la Puente
and Belda, 1999) แต่ในกรณีของพืชยืนต้นนิยมใช้วิธีส้ารวจเก็บตัวอย่างดิน และพืชจากแปลงเกษตรกร
(สุมิตรา และวิเชียร, 2546; สมศักดิ์, 2551; ภรภัทร และสมศักดิ์, 2559) จากนั นน้าข้อมูลมาหาความสัมพันธ์
ระหว่างความเข้มข้นของธาตุอาหาร กับปริมาณผลผลิต เพื่อใช้ก้าหนดช่วงความเหมาะสมของธาตุอาหารชนิด
ต่าง ๆ