Page 65 - ผลกระทบจากการเผาตอซังและไม่ไถพรวนต่อสมบัติดินเพื่อ การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์บนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่ Effects of Burning and No-tillage on Soil Properties forMaize Production on Upland in Chiang Mai Province.
P. 65

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           49

                   และตำรับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง ให้ผลผลิตรวมเปลือกเฉลี่ย ที่ 1,447.03 และ 1,438.59

                   กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ตำรับการทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน ให้
                   ผลผลิตรวมเปลือกเฉลี่ยน้อยที่สุด ที่ 1,377.31 ต่อไร่ ดังตารางที่ 31


                            ผลผลิตปอกเปลือกที่ความชื้นไม่เกิน 14.5 เปอร์เซ็นต์ พบว่าความแตกต่างทางสถิติอย่างมี
                   นัยสำคัญ (p<0.5) โดยตำรับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง มีผลผลิตปอกเปลือกเฉลี่ยสูงสุดที่

                   1,311.71 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ไม่แตกต่างจากตำรับการทดลองที่ 2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง และตำรับการ

                   ทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง ให้ผลผลิตปอกเปลือกเฉลี่ยที่ ที่ 1,258.66 และ 1,247.22 กิโลกรัมต่อ
                   ไร่ ตามลำดับ ตำรับการทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน ให้ผลผลิตปอก

                   เปลือกเฉลี่ยน้อยที่สุด ที่ 1,206.90 ต่อไร่ ดังตารางที่ 31

                            เมื่อพิจารณาน้ำหนักเปลือกและซังข้าวโพดพบว่า ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ โดยตำรับการทดลอง

                   ที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน มีน้ำหนักเปลือกและซังเฉลี่ยสูงสุดที่ 339.20

                   กิโลกรัมต่อไร่ ตำรับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง และตำรับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผา
                   ตอซัง มีน้ำหนักเปลือกและซังเฉลี่ยที่ 321.93 และ 306.80 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ตำรับการทดลองที่ 2

                   ไถพรวนดินสับกลบตอ มีน้ำหนักเปลือกและซังเฉลี่ยน้อยสุดที่ 305.98 กิโลกรัมต่อไร่ ดังตารางที่ 31

                            เมื่อพิจารณาน้ำหนักเมล็ดข้าวโพด พบว่ามีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.5) โดย

                   ตำรับการทดลองที่ 2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง มีน้ำหนักเมล็ดเฉลี่ยสูงสุดที่ 1,141.05 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ไม่
                   แตกต่างจากตำรับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง และตำรับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอ

                   ซัง มีน้ำหนักเมล็ดเฉลี่ยที่ 1,137.09 และ 1,131.79 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ตำรับการทดลองที่ 4 ไม่ไถ

                   พรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน มีน้ำหนักเมล็ดเฉลี่ยน้อยที่ 1,038.11 กิโลกรัมต่อไร่ ดังตาราง
                   ที่ 31


                   ตารางที่ 31 ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2563

                                        Ear weight         Ear without         Husk and cob  Grain weight
                       Treatment
                                         (kg/rai)      husk weight (kg/rai)     weight (kg/rai)   (kg/rai)

                  T1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง   1,459.01   a           1,311.71  a            321.93         1,137.09   a

                  T2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง   1,447.03   a           1,258.66  ab           305.98         1,141.05   a
                  T3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง   1,438.59   a                1,247.22   ab           306.80         1,131.79   a
                  T4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซัง

                      และปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน   1,377.31   b                1,206.90   b           339.20         1,038.11   b

                         F-test                  *                       *                 ns             *
                        C.V. (%)              2.08                    3.71                7.04         3.20

                          การศึกษาขนาดฝักข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์นครสวรรค์ 3 ที่ปลูกในปี 2563 พบว่าความยาวและความ

                   กว้างฝักไม่มีความแตกต่างทางสถิติ  โดยตำรับการทดลองที่  3  ไถพรวนดินและเผาตอซัง  มีความยาวฝักเฉลี่ย
                   สูงสุดที่ 17.37 เซนติเมตร ตำรับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง และตำรับการทดลองที่ 2 ไถพรวน
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70