Page 21 - การทำนายผลผลิตข้าวและข้าวโพดเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รุนแรง บริเวณพื้นที่สูงลุ่มน้ำแม่แจ่ม Crop Yield Projection at Mae Cham Sub Basin under Extreme Climate Change.
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           11






















                   ภาพที่ 7 ตัวอย่างการก าหนดตัวแปรเพื่อทดสอบความแตกต่างทางสถิติ

                          3) แปรผล

                                 - สังเกตค่า Sig. (2-tailed) ถ้ามีค่ามากกว่าค่าระดับความเชื่อมั่นตามที่ก าหนด แสดงว่าไม่

                   อาจปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ ยอมรับ H  : µ  = µ  (ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างที่ 1 ไม่แตกต่างจากกลุ่มที่ 2)
                                                       0
                                                                2
                                                           1
                                 - สังเกตค่า Sig. (2-tailed) ถ้ามีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าระดับความเชื่อมั่นตามที่ก าหนด
                   แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก และยอมรับสมมติฐานรอง H  : µ   µ  (ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างที่ 1 แตกต่าง
                                                                              2
                                                                     1
                                                                         1
                   จากกลุ่มที่ 2) (อนันตกุล, ม.ป.ป.)
                   8. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
                          เกริก และคณะ (2552) ได้การศึกษาผลกระทบของภาวะโลกร้อนต่อการผลิตข้าว อ้อย มันส าปะหลัง

                   และข้าวโพดของประเทศไทย โดยใช้แบบจ าลองพืช DSSAT  ร่วมกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ และใช้
                   ข้อมูลสภาพภูมิอากาศปี ค.ศ. 1980  -  2099 จากการจ าลองของ ECHAM4-PRECIS  เป็นตัวแปรขับเคลื่อน

                   ภายใต้ข้อก าหนดที่ไม่มีการระบาดของโรคแมลง และมีการจัดการพืชตามค าแนะน าของกระทรวงเกษตรและ

                   สหกรณ์ พบว่าการเพิ่มขึ้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และอุณหภูมิ มีผลกระทบในระยะยาวค่อนข้างต่ าต่อ
                   ผลผลิตข้าว อ้อย และข้าวโพด แต่ท าให้ผลผลิตของมันส าปะหลังลดลงถึงร้อยละ 43 ในแง่ความแปรปรวน

                   ของผลผลิตซึ่งเป็นปัจจัยที่ส าคัญต่อความเสี่ยงของระบบการผลิตถือว่ามีค่าความแปรปรวนสูง โดยมีค่าความ

                   แปรปรวนระหว่างปีเฉลี่ยร้อยละ 14 ส าหรับข้าว ร้อยละ 18 ส าหรับอ้อย ร้อยละ 34 ส าหรับมันส าปะหลัง
                   และร้อยละ 41 ส าหรับข้าวโพด ความแปรปรวนระหว่างพื้นที่มีค่าสูงมากขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 33 ส าหรับข้าว

                   ร้อยละ 23 ส าหรับอ้อย ร้อยละ 33 ส าหรับมันส าปะหลัง และร้อยละ 45 ส าหรับข้าวโพด พื้นที่ปลูกข้าวนา

                   น้ าฝนที่ได้รับผลกระทบรุนแรงส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส าหรับนาข้าวชลประทานอยู่ในภาค
                   กลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนพื้นที่ปลูกอ้อยและมันส าปะหลังที่ได้รับผลกระทบสูงอยู่ในภาค

                   ตะวันออกเฉียงเหนือ และพื้นที่ปลูกข้าวโพดอยู่ในภาคเหนือและบริเวณรอยต่อกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                   สาเหตุเกิดจากความแปรปรวนของฝนที่จะแสดงออกอย่างรุนแรงในดินที่มีความสามารถในการอุ้มน้ าและ

                   ความอุดมสมบูรณ์ต่ า ดังนั้นการปรับตัวจึงต้องพัฒนาโดยการขยายระบบชลประทานและอนุรักษ์ความอุดม

                   สมบูรณ์ของดิน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26