Page 120 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 120

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          100

                   5.2 ผลการศึกษา ปี 2562

                          5.2.2.การชะล้างพังทลายของดิน

                            การศึกษาการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ หมู่ 7 ต าบลกองแขก อ าเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่

                   จาก แปลงศึกษาขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 22 เมตร ซึ่งมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่
                   ละดับความลาดชัน 20 เปอร์เซ็นต์ โดยท าการศึกษาการชะล้างพังทลายของดินจากปริมาณตะกอนดินในถัง
                   ดักตะกอน ให้ผลการศึกษาดังนี้

                             1) ปริมาณตะกอนดินในถังดักตะกอน

                                 จากการศึกษาการชะล้างพังทลายของดินจากถังดักตะกอนดิน ในพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                   ปี 2562 ท าการเก็บตะกอนดินในถังดักตะกอนตลอดฤดูปลูกรวม 5 ครั้ง ดังตารางที่ 59 พบว่าต ารับการ

                   ทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซัง และปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน พบปริมาณตะกอนดินในถังดักตะกอนน้อย
                   กว่าต ารับการทดลองอื่นๆ

                   ตารางที่ 59 ปริมาณตะกอนดินแห้งที่สูญเสียดินในแต่ละสตอร์ม ปี 2562

                              Treatment                       Annual soil loss (ton/rai)            Total
                                                   20-Jun  5-Aug  20-Aug-  6-Sep  20-Sep         ton/rai/year

                     T1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง          0.18    0.69      1.99    0.00      0.19           3.06
                     T2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง          0.16    0.11      0.08    0.07      0.12           0.54

                     T3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง          0.12    0.71      1.20    0.00      0.22           2.24

                     T4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซัง

                         และปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน     0.02    0.06      0.02    0.00      0.02           0.11

                                 จากการศึกษาการชะล้างพังทลายของดินจากถังดักตะกอนดิน ในพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                   ปี 2562 พบว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (p>0.5) โดยต ารับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง มี
                   ปริมาณตะกอนดินสะสมเฉลี่ยสูงสุด 3.06 ตันต่อไร่ต่อปี ต ารับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง มี
                   ปริมาณตะกอนดินสะสมเฉลี่ย ที่ 2.24 ตันต่อไร่ต่อปี ต ารับการทดลองที่ 2 มีปริมาณตะกอนดินสะสมเฉลี่ย ที่

                   0.54 ตันต่อไร่ต่อปี และต ารับการทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซัง และปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน มีปริมาณ
                   ตะกอนดินสะสมเฉลี่ยน้อยที่สุด 0.11 ตันต่อไร่ต่อปี ดังตารางที่ 60

                   ตารางที่ 60 ปริมาณตะกอนดินแห้งที่สูญเสียดิน ปี 2562
                                     Treatment                                 Annual soil loss


                                                                                 (ton/rai/year)
                    T1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง                                                            0.56

                    T2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง                                                            0.57
                    T3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง                                                            2.24

                    T4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซัง
                         และปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน                                                      0.11

                    F-test                                                                               ns
                    C.V. (%)                                                                          12.36
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125