Page 118 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 118

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           98

                   แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.5) โดยต ารับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง มีน้ าหนักเมล็ด

                   เฉลี่ยสูงสุดที่ 155.00 กรัมต่อฝัก ต ารับทดลองที่ 2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง และต ารับการทดลองที่ 4 ไม่ไถ
                   พรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน มีน้ าหนักเมล็ดเฉลี่ยที่ 150.33 และ 149.67 กรัมต่อฝัก และ
                   ต ารับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง มีน้ าหนักเมล็ดเฉลี่ยน้อยสุดที่ 149.00 กรัมต่อฝัก ดังตารางที่
                   14

                            ไม่พบความแตกต่างทางสถิติของน้ าหนัก 100 เมล็ด โดยต ารับการทดลองที่ 2 ไถพรวนดินสับกลบ

                   ตอซัง มีน้ าหนัก 100 เมล็ดเฉลี่ยสูงสุดที่ 35.33 กรัม ต ารับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง และ
                   ต ารับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง มีน้ าหนัก 100 เมล็ดเฉลี่ย เท่ากันที่ 32.67 กรัม และต ารับ
                   การทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน มีน้ าหนัก 100 เมล็ดเฉลี่ยน้อยสุดที่
                   32.00 กรัม ดังตารางที่ 57

                   ตารางที่ 57 องค์ประกอบผลผลิต ปี 2561

                            Treatment             Ear Size (cm)        Row         Kernel          100 Kernel

                                                Length      Width     per Ear   per Ear (g)        Weight (g)

                     T1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง      17.01       4.34      13.40         149.00  b            32.67
                     T2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง      16.60       4.34      13.87         150.33  ab           35.33

                     T3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง      16.98       4.37      13.77         155.00  a            32.67
                     T4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซัง
                         และปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน   16.53     4.42      14.13         149.67  ab           32.00

                     F-test                       ns         ns         ns                *                 ns
                     C.V. (%)                     2.17       1.37      3.85            1.77               6.49




                          5.1.3 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ

                            การศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการปลูกข้าวโพดอาหารสัตว์ในปี 2561 พบว่าต ารับการ
                   ทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผาตอซัง มีต้นทุนรวมในการผลิตข้าวโพดอาหารสัตว์ต่ าที่สุดเพียง 3,815 บาทต่อ
                   ไร่ ซึ่งต่ ากว่าต้นทุนรวมของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (4,470 บาทต่อไร่) ถึง 655 บาท คิดเป็น 14.65
                   เปอร์เซ็น ต ารับการทดลองที่ 2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง และต ารับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง

                   มีต้นทุนรวมที่ 4,461 บาทต่อไร่ ซึ่งใกล้เคียงกับต้นทุนรวมของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ในขณะที่ต ารับ
                   การทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน จะมีค่าเมล็ดพันธุ์ถั่วปิ่นโตเพิ่มขึ้น 200
                   บาท (กิโลกรัมละ 100 บาท ใช้ในอัตรา 2 กิโลกรัมต่อไร่) จึงต้นทุนรวมที่สูงกว่าต ารับที่ 1 เป็น 4,015 บาท
                   เมื่อค านวณก าไรสุทธิจากผลผลิตปอกเปลือกที่ความชื้นไม่เกิน 14.5 เปอร์เซ็นในแต่ละต ารับการทดลอง ใน

                   ราคาขายช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม 2562 ที่ 6.39 บาทต่อกิโลกรัม ต ารับการทดลองที่ 1 ไม่ไถพรวนและเผา
                   ตอซัง ให้ก าไรสุทธิสูงสุดที่ 5,817 บาทต่อไร่ ต ารับการทดลองที่ 3 ไถพรวนดินและเผาตอซัง ให้ก าไรสุทธิ
                   รองลงมาที่ 5,500 บาทต่อไร่ ต ารับการทดลองที่ 4 ไม่ไถพรวนดิน ไม่เผาตอซังและปลูกถั่วปิ่นโตคลุมดิน ให้
                   ก าไรสุทธิที่ 5,399 บาทต่อไร่ และต ารับการทดลองที่ 2 ไถพรวนดินสับกลบตอซัง ให้ก าไรสุทธิต่ าที่สุดที่

                   5,154 บาทต่อไร่ ดังตารางที่ 58
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123