Page 106 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 106

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           89

                   ตารางที่ 50 ผลกระทบของการชะล้างพังทลายต่อความอุดมสมบูรณ์ของดินบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ าแม่แจ่ม

                              ปี 2561 – 2563
                                                                    ไนโตรเจน     ฟอสฟอรัสที่เป็น  โพแทสเซียมที่
                            ระดับ     อินทรียวัตถุ    คาร์บอน        ทั งหมด       ประโยชน์     เป็นประโยชน์
                     ปี   ความอุดม   พื นที่  พื นที่   พื นที่   พื นที่   พื นที่   พื นที่   พื นที่  พื นที่   พื นที่   พื นที่
                           สมบูรณ์
                                     (ไร่)   (%)    (ไร่)   (%)    (ไร่)   (%)    (ไร่)   (%)   (ไร่)   (%)
                           ต่ ามาก     -      -      -60   -0.004  -81,228   -4.87   -33   -0.002   -818   -0.05
                             ต่ า    -1,562   -0.09  -328,689  -19.71  175,601  10.53   26,088   1.56   3,396   0.20
                   2561/                                                  -5.66   35,769   2.15   4,530   0.27
                    2562   ปานกลาง  -234,530  -14.07  -248,879  -14.93  -94,373
                             สูง     7,025   0.42   9,070   0.54    -      -    236,120  14.16  -146,213  -8.77
                           สูงมาก   229,067  13.74  491,407  29.47   -     -    -297,945  -17.87  139,106   8.34
                           ต่ ามาก     -      -      -       -     340    0.02    158    0.01   158    0.01
                             ต่ า    -164    -0.01   -3,106   -0.19   -1,446   -0.09   23   0.001   279   0.02
                   2562/            -16,624   -1.00   -20,227   -1.21   1,105   0.07   26   0.002   1,648   0.10
                    2563   ปานกลาง
                             สูง     4,024   0.24   3,963   0.24    -      -     -955    -0.06   93,552   5.61
                           สูงมาก    12,764   0.77   19,370   1.16   -     -      746    0.04   -95,637  -5.74

                          4.2.6 ผลกระทบของการชะล้างพังทลายต่อความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื นที่ปลูกข้าวโพด

                          พื้นที่ปลูกข้าวโพด ปี 2561/2562
                          การเปลี่ยนแปลงการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ปลูกข้าวโพด ปี 2561/2562 พบว่า ขนาดของ
                   พื้นที่ของปริมาณอินทรียวัตถุที่ระดับต่ าและปานกลางมีการลดลง 649 และ 30,350 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.56

                   และ 26.13 ตามล าดับ ที่ระดับสูงและสูงมากมีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ 17,962   และ 1 3 ,0 3 8   ไร่
                   คิดเป็นร้อยละ  15.47 และ 11.23  ตามล าดับ
                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณคาร์บอนที่ระดับต่ ามาก ต่ า และปานกลางมีการลดลง  17 10,324 และ
                   29,897  ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.01 8.89 และ 25.74 ตามล าดับ ในขณะที่ระดับสูงและสูงมากมีการเพิ่มขึ้น

                   ของพื้นที่ 17,812 และ 22,426 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 15.34 และ 19.31 ตามล าดับ
                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดที่ระดับต่ ามากและปานกลางมีการลดลง 9,895 และ
                   918 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 8.52 และ 0.79 ตามล าดับ ในขณะที่ระดับต่ ามีการเพิ่มขึ้น 10,814 ไร่ คิดเป็น
                   ร้อยละ 9.31

                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ที่ระดับต่ ามาก ปานกลาง และสูงมาก
                   มีการลดลง 19 704 และ 2,955 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.02 0.61 และ 2.54 ตามล าดับ ในขณะที่ระดับต่ า และ
                   สูงมีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ 2,576 และ 1,102 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.22 และ 0.95
                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ที่ระดับสูงและสูงมากมีการลดลง 2,061 และ

                   1,093  ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.77 และ 0.94 ตามล าดับ ในขณะที่ระดับต่ าและปานกลางมีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่
                   124 และ 3,030 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.11 และ 2.61 ตามล าดับ
                          พื้นที่ปลูกข้าวโพด ปี 2562/2563

                          การเปลี่ยนแปลงการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ปลูกข้าวโพด ปี 2562/2563 พบว่า ขนาดของ
                   พื้นที่ของปริมาณอินทรียวัตถุที่ระดับต่ าและสูงมีการลดลง 279 และ 342 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.24 และ 0.29
                   ตามล าดับ ที่ระดับปานกลางและสูงมากมีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ 285 และ 337 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.25 และ 0.29
                   ตามล าดับ
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111