Page 105 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 105

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           88

                          4.2.5 ผลกระทบของการชะล้างพังทลายต่อความอุดมสมบูรณ์ของดินบริเวณพื นที่ลุ่มน ้าแม่แจ่ม

                          พื้นที่บริเวณลุ่มน้ าแม่แจ่ม ปี 2561/2562
                          การเปลี่ยนแปลงการชะล้างพังทลายของดินบริเวณลุ่มน้ าแม่แจ่ม ปี 2561/2562 พบว่า ขนาดของ
                   พื้นที่ของปริมาณอินทรียวัตถุที่ระดับต่ าและปานกลางมีการลดลง 1,562 และ 234,530 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                   0.09 และ 14.07 ตามล าดับ ที่ระดับสูงและสูงมากมีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ 7,025 และ 229,067 ไร่ คิดเป็น

                   ร้อยละ 0.42 และ 13.74  ตามล าดับ
                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณคาร์บอนที่ระดับต่ ามาก ต่ า และปานกลางมีการลดลง 60 328,689 และ
                   248,879  ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.004 19.71 และ 14.93  ตามล าดับ ในขณะที่ระดับสูงและสูงมากมีการเพิ่มขึ้น
                   ของพื้นที่ 9,070 และ 491,407 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.54 และ 29.47 ตามล าดับ

                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดที่ระดับต่ ามากและปานกลางมีการลดลง 81,228 และ
                   94,373 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.87 และ 5.66 ตามล าดับ ในขณะที่ระดับต่ ามีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ 175,601 ไร่
                   คิดเป็นร้อยละ 10.53
                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ที่ระดับต่ ามากและสูงมากมีการลดลง 33 และ

                   297,945 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.002 และ 17.87 ตามล าดับ ในขณะที่ระดับต่ า ปานกลาง และสูงมีการเพิ่มขึ้นของ
                   พื้นที่ 26,088 35,769 และ 236,120 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.56 2.15 และ 14.16 ตามล าดับ
                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ที่ระดับต่ ามากและสูงมีการลดลง 818 และ
                   146,213 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.05 และ 8.77 ตามล าดับ ในขณะที่ระดับต่ า ปานกลาง และสูงมากมีการเพิ่มขึ้น

                   ของพื้นที่ 3,396 4,530 และ 139,106 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.20 0.27 และ 8.34 ตามล าดับ
                          พื้นที่บริเวณลุ่มน้ าแม่แจ่ม ปี 2562/2563
                          การเปลี่ยนแปลงการชะล้างพังทลายของดินบริเวณลุ่มน้ าแม่แจ่ม ปี 2562/2563 พบว่า ขนาดของ
                   พื้นที่ของปริมาณอินทรียวัตถุที่ระดับต่ าและปานกลางมีการลดลง 164 และ 16,624 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.01 และ

                   1.00 ตามล าดับ ที่ระดับสูงและสูงมากมีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ 4,024 และ 12,764 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.24 และ
                   0.77  ตามล าดับ
                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณคาร์บอนที่ระดับต่ าและปานกลางมีการลดลง 3,106 และ 20,227  ไร่

                   คิดเป็นร้อยละ 0.19 และ 1.21 ตามล าดับ ในขณะที่ระดับสูงและสูงมากมีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ 3,963 และ
                   19,370 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.24 และ 1.16 ตามล าดับ
                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดที่ระดับต่ ามีการลดลง 1,446 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.09
                   ในขณะที่ระดับต่ ามากและปานกลางมีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ 340 และ 1,105 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.02 และ 0.07
                   ตามล าดับ

                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ที่ระดับสูงมีการลดลง 955 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                   0.06 ในขณะที่ระดับต่ ามาก ต่ า ปานกลาง และสูงมากมีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ 158 23 26 และ 746 ไร่ คิดเป็น
                   ร้อยละ 0.01 0.001 0.002 และ 0.04 ตามล าดับ

                          ขนาดของพื้นที่ของปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ที่ระดับสูงมากมีการลดลง 95,637 ไร่
                   คิดเป็นร้อยละ 5.74 ในขณะที่ระดับต่ ามาก ต่ า ปานกลาง และสูงมีการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ 158 279 1,648 และ
                   93,552 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.01 0.02 0.10 และ 5.61 ตามล าดับ ดังแสดงในตารางที่ 50
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110