Page 7 - การวิจัยทดสอบและเก็บข้อมูลด้านวิชาการพัฒนาที่ดินในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินของมูลนิธิชัยพัฒนาบ้านเกริ่นกระถิน
P. 7

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                                                                                                        5


                       ต้นกล้าไม่แข็งแรง ซึ่งพบว่าเมื่อนำไปปลูกลงดินในแปลงช่วงระยะเวลาหนึ่ง หญ้าแฝกจะเจริญ เติบโต

                       มีกอตั้งขึ้นเป็นปกติไต้
                                     1.2.2 ใบ

                                     ใบของหญ้าแฝกแตกจากโคนกอ มีลักษณะแคบยาว ขอบขนานปลาย สอบแหลม
                       แผ่นใบกร้านคาย โดยเฉพาะใบแก่ ขอบใบและเส้นกลางใบมี หนามละเอียด ที่บริเวณปลายใบมี

                       หนามมาก ส่วนโคนและกลางแผ่นใบมี น้อยลงหนามตั้งทแยง ปลายหนามชี้ไปทางปลายใบ กระจัง

                       หรือเยื่อกันน้ำฝนที่โคนใบลดรูป มีลักษณะเป็นเพียงส่วนโต้ง บางครั้งสังเกตได้ไม่ชัดเจน
                                     1.2.3 ราก

                                     รากของหญ้าแฝกเป็นลักษณะพิเศษหลักที่สำคัญ ทำให้หญ้าแฝกถูกพิจารณาไปใช้
                       ประโยชน์ต่างๆ รากหญ้าส่วนใหญ่เป็นระบบรากฝอย แตกจาก ส่วนสำต้นใต้ดินกระจายออกแฝกว้าง

                       ขนานคับพื้นดิน ระบบรากในแนวดิ่ง ไม่ลึกมาก แต่ระบบรากของหญ้าแฝกตรงข้ามคับหญ้าทั่วไป คือ

                       มีรากที่ สานคันแน่นหยั่งลึกลงดินในแนวดิ่งไม่แผ่ขนาน มีทั่งรากแกนรากแขนง โดยเฉพาะมีรากฝอย
                       มาก

                                     หญ้าแฝกที่มีอายุประมาณ18เดือนรากจะเจริญเติบโตเต็มที่ รากแกนที่ส่วนโคนกอ
                       จะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2-3 มิลลิเมตร เมื่อรากแก่ผนังต้าน นอกจะแข็งมีลักษณะอวบคล้ายนวมจะตาย

                       และแทนที่ด้วยเชลล์ชั้นที่อยู่คัดไป ทำให้รากหนาขึ้น มีความแข็งแรง ดูดซับน้ำและความขึ้น

                       โดยเฉพาะเองคัน ส่วนส่าเลียงน้ำ
                                     1.2.4 ช่อดอก

                                     หญ้าแฝกมีช่อดอกตั้งตรง มีลักษณะเป็นรวง ก้านช่อดอก ยาวกลมก้าน ช่อดอกและ
                       รวงสูงประมาณ 100-150 เซนติเมตรในต้นที่สมบูรณ์อาจสูงกว่า 200 เซนติเมตร ความยาวงช่อดอก

                       ประมาณ 20-40 เซนติเมตร แผ่กว้างเต็มที่ 10-15 เซนติเมตร ช่อดอกของหญ้าแฝกลุ่มส่วนใหญ่มีสี

                       ม่วง ซึ่งเป็นลักษณะปกติประจำแต่ละสายพันธุ์ ในพืชสกุลหญ้า ลักษณะของช่อดอกเป็นลักษณะ
                       สำคัญในการจำแนกสายพันธุ์ แต่ในหญ้าแฝกลักษณะนี้อาจทำให้ เกิดความลับสนโดยเฉพาะเมื่อใช้

                       ความยาว ความกว้าง และสีของรวงเป็นลักษณะ จำแนก เพราะแท้จริงแล้วช่อดอกหญ้า แฝกจะ
                       เปลี่ยนรูปและสีไปไต้ตามขั้นตอน ของการผสมเกสรโดยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ

                                            1) ระยะผสมเกสร

                                            เริ่มตั้งแต่ช่อดอกแทงโผล่พันใบธง จนถึงระยะดอกหญ้าบานเต็มที่ ใช้ เวลา
                       ประมาณ 4-5 วัน ในระยะนี้แกนช่อดอกจะยืดตัวอย่างรวดเร็ว ในรวง จะมีน้ำ อาหารและฮอร์โมน

                       พืชต่างๆ อย่างสมบูรณ์ส่วนโคนของแกนช่อย่อย เป็นต่อมเมื่อเต่งเต็มที่จะตันให้แกนช่อย่อยกางแผ่
                       ออกและเกสรจะดีดตัวออก มาระโยงระยางค์ เพื่อพร้อมรับการผสมเกสร
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12