Page 31 - การวิจัยทดสอบและเก็บข้อมูลด้านวิชาการพัฒนาที่ดินในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินของมูลนิธิชัยพัฒนาบ้านเกริ่นกระถิน
P. 31
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
29
ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักร่วมกับโพลิเมอร์ โดยใช้ปุ๋ยหมักอัตราส่วน 1 ตันต่อไร่ และใส่โพลิเมอร์อัตรา
0.25 ลิตร ต่อแถวหญ้าแฝก 10 เมตร มีอัตราการแตกหน่อของหญ้าแฝกสูงสุด 37 หน่อต่อก่อ
รองลงมา ตำรับการทดลองที่ 2 และ 3 อัตราการแตกหน่อของหญ้าแฝกเท่ากัน 35 หน่อต่อกอ
ท้ายสุดตำรับการทดลองที่ 1 มีอัตราการแตกหน่อของหญ้าแฝก เท่ากับ 32 หน่อต่อกอ (ตารางที่ 7 )
ตารางที่ 7 จำนวนหน่อของหญ้าแฝกพันธุ์พันธุ์สงขลา 3 ที่ปลูกในพื้นที่ดำเนินการโครงการพัฒนาที่ดินของ
มูลนิธิชัยพัฒนาบ้านเกริ่นกระถิน ตำบลเนินขี้เหล็ก อำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์
จำนวนหน่อของหญ้าแฝก (หน่อต่อกอ)
ตำรับการทดลอง
อายุ 5 เดือน อายุ 7 เดือน
ตำรับที่ 1 วิธีควบคุม (Control) ไม่ใส่ปุ๋ยหมัก ไม่ใส่โพลิเมอร์ 14 32
b
a
ตำรับที่ 2 ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักอัตรา 2 ตันต่อไร่ ไร่ (ตาม 28 35
คำแนะนำการปรับปรุงดินเพื่อปลูกพืชไร่โดยปุ๋ยหมักซุปเปอร์ พด.1
ของกรมพัฒนาที่ดิน)
a
ตำรับที่ 3 ใส่โพลิเมอร์อัตรา 0.5 ลิตร ต่อแถวหญ้าแฝก 10 เมตร 25 35
ตำรับที่ 4 ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักร่วมกับโพลิเมอร์ โดยใช้ปุ๋ยหมัก 23 37
a
อัตราส่วน 1 ตันต่อไร่ และใส่โพลิเมอร์อัตรา 0.25 ลิตร ต่อแถวหญ้า
แฝก 10 เมตร
F-test ** ns
C.V. (%) 15.92 14.16
หมายเหตุ ns ไม่แตกต่างกันทางสถิติ
** แตกต่างกันทางสถิติที่ p <0.01
ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่แตกต่างกันแสดงถึงความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ
ความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)
4.2 ความสูงหญ้าแฝก
การปลูกหญ้าแฝกสายพันธุ์สงขลา 3 โดยใช้กล้าแบบเปลือยราก ปลูกตามวิธีการทดสอบเพื่อ
ศึกษาข้อมูลการแตกหน่อของหญ้าแฝกพันธุ์สงขลา 3 ที่นำมาปลูกในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินของ
มูลนิธิชัยพัฒนาบ้านเกริ่นกระถิน ซึ่งสภาพดินในพื้นที่ดำเนินงานนั้นเป็นดินถม โดยทำการวัดความสูง
ของหญ้าแฝก ที่อายุ 5 และ 7 เดือน พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ ในช่วงอายุ
5 เดือน โดยความสูงของหญ้าแฝกสายพันธุ์สงขลา 3 ที่ปลูกโดยมีการปรับปรุงดินมีแนวโน้มต้นสูง
กว่าวิธีที่ไม่ได้ทำอะไรเลย ตำรับที่ 2 ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักอัตรา 2 ตันต่อไร่ (ตามคำแนะนำการ