Page 26 - การปรับปรุงบำรุงดินโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ เพื่อปลูกข้าวโพดหวานอินทรีย์
P. 26
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมในดินเพิ่มสูงขึ้นจาก 53 เป็น 117 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ปริมาณ
แคลเซียมมีค่าเฉลี่ยลดลงจากก่อนการทดลอง คือจาก 4,428 ลดลงเหลือเฉลี่ย 4,012 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และ
แมกนีเซียมมีการสะสมเพิ่มสูงขึ้นเล็กน้อยเมื่อสิ้นสุดการทดลองมีค่าเฉลี่ย 385 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม(ตารางที่ 11 )
ตารางที่ 13 ผลวิเคราะห์ตัวอย่างดิน
Extractable(mg/kg)
วิธีการทดลอง pH %OM P K Ca Mg
ก่อนการทดลอง 7.1 2.7 2.68 53 4,428 344
หลังเก็บผลผลิตข้าวโพดหวาน ปีที่ 1
1. วิธีเกษตรกร 6.6 2.8 4.0 58 4,049 396
2. ปุ๋ยมูลโค 6.7 2.8 7.5 80 3,735 403
3. ปุ๋ยหมัก 6.5 3.0 8.0 75 3,887 365
4. ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง 6.5 2.8 7.7 105 3,596 353
5. ปุ๋ยมูลโคร่วมกับปลูกปอเทืองแซมระหว่างแถว 6.7 3.0 9.3 155 3,366 371
6. ปุ๋ยหมักร่วมกับปลูกปอเทืองแซมระหว่างแถว 6.4 2.9 7.0 64 3,643 346
7. ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปอเทืองแซมระหว่างแถว 6.6 2.8 6.7 96 3,684 366
8. ปุ๋ยพืชสดร่วมกับปลูกปอเทืองแซมระหว่างแถว 6.6 2.7 5.0 50 3,431 313
เฉลี่ย 6.6 2.9 6.9 85 3,674 346
หลังเก็บผลผลิตข้าวโพดหวานปีที่ 2 (สิ้นสุดการทดลอง)
1. วิธีเกษตรกร 6.8 2.6 9 72 3,811 369
2. ปุ๋ยมูลโค 6.8 2.6 8 125 3,754 384
3. ปุ๋ยหมัก 6.8 2.6 19 74 3,950 402
4. ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง 6.6 2.6 10 143 3,928 356
5. ปุ๋ยมูลโคร่วมกับปลูกปอเทืองแซมระหว่างแถว 7.0 2.4 5 113 3,879 393
6. ปุ๋ยหมักร่วมกับปลูกปอเทืองแซมระหว่างแถว 6.8 2.8 26 131 4,343 412
7. ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปอเทืองแซมระหว่างแถว 6.9 2.7 11 172 4,032 431
8. ปุ๋ยพืชสดร่วมกับปลูกปอเทืองแซมระหว่างแถว 6.8 2.4 5 104 4,089 333
เฉลี่ย 6.8 2.6 11.6 117 3,973 385