Page 34 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร ขมิ้นชัน กระชายดำ ไพล และบัวบก
P. 34
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
3-14
สามารถแสดงรายละเอียดของความต้องการคุณภาพที่ดินในแต่ละกลุ่มสําหรับการผลิตพืชสมุนไพร
ดังตารางที่ 3-3
ตารางที่ 3-3 ความต้องการคุณภาพที่ดินในแต่ละกลุ่มสําหรับพืชสมุนไพร
A. Crop Requirements
1. Radiation regime - Radiation
2. Temperature regime - Temperature
3. Moisture availability - Moisture
4. Oxygen availability - Oxygen, soil drainage
5. Nutrient availability - Nutrient availability
6. Nutrient retention - Cation exchange capacity and Base saturation
7. Rooting condition - Effective soil depth
8. Flood hazard - Frequency
9. Excess of salts - Salinity
10. Soil toxicities - Jarosite depth
- Al & Fe (ppm)
B. Management Requirements
11. Soil workability
12. Potential for mechanization
C. Conservation Requirements
13. Erosion hazard
3.5 การจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดิน (Land Suitability Classification) สําหรับ
พืชสมุนไพร
ใช้หลักการจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินของ FAO Framework ปี1983 ซึ่งได้
จําแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินออกเป็น 2 อันดับ (Order) คือ อันดับที่เหมาะสม (Order S,
suitability) และอันดับที่ไม่เหมาะสม (Order N, not suitability) และจาก 2 อันดับนี้ได้แบ่งย่อย
ออกเป็น 4 ชั้น (Class) ดังตารางที่ 3-5
S1 หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมสูงสําหรับพืชสมุนไพร (Highly suitable)
S2 หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลางสําหรับพืชสมุนไพร (Moderately suitable)
แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร ขมิ้นชัน กระชายดํา ไพล และบัวบก กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน