Page 48 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           3-8






                           8) ความเสียหายจากน้ําทวม (Flood hazard)

                             คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทนไดแก จํานวนครั้งที่น้ําทวมในชวงรอบปที่กําหนดไว

                  หมายถึง พืชสมุนไพรไดรับความเสียหายจากการที่น้ําทวมบนดินชั่วระยะเวลาหนึ่ง หรือเปนน้ําที่มีการ
                  ไหลบา การที่น้ําทวมขังจะทําใหดินขาดออกชิเจน สวนน้ําไหลบาจะทําใหรากไดรับความ

                  กระทบกระเทือน หรือรากอาจหลุดพนผิวดินขึ้นมาได ความเสียหายจากน้ําทวมไมใชจะเกิดกับพืช

                  สมุนไพรเทานั้น แตยังทําความเสียหายใหกับดิน และโครงสรางพื้นฐานตางๆ ที่เกี่ยวของกับการใชที่ดิน
                             ชั้นมาตรฐานความเสียหายจากน้ําทวม

                             ระดับ                      ความถี่ของการเกิดน้ําทวม
                             1) ต่ํา                      10 ปขึ้นไปเกิด 1 ครั้ง

                             2) คอนขางต่ํา              6-9 ปเกิด 1 ครั้ง

                             3) ปานกลาง                   3-5 ปเกิด 1 ครั้ง
                             4) สูง                       1-2 ปเกิด 1 ครั้ง

                           9) การมีเกลือมากเกินไป (Excess of salts)
                             คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทนไดแกปริมาณเกลืออิสระที่สะสมมากเกินพอจนเปนอันตราย

                  ตอการเจริญเติบโตของพืชสมุนไพร มี exchangeable Na < 15 % หรือที่เรียกวา Salinity ซึ่งจะมี

                  อิทธิพลที่ทําความเสียหายใหกับพืชสมุนไพรโดยขบวนการ Osmosis  กลาวคือ ถามีเกลือสะสมในดิน
                  มากปริมาณน้ําในรากและตนจะถูกดูดออกมาทําใหตนพืชสมุนไพรขาดน้ํา ถาความเค็มมีระดับสูงมาก

                  อาจทําใหตายได พืชสมุนไพรแตละชนิดจะมีความสามารถในการทนทานตอปริมาณเกลือแตกตางกันไป

                           10) สารพิษ (Soil Toxicities)
                             คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทนไดแก ระดับความลึกของชั้น jarosite  ซึ่งจะมีอิทธิพลตอ

                  ปฏิกิริยาดินจะทําใหดินเปนกรดจัดมาก  ปริมาณซัลเฟตของเหล็กและอลูมินั่มในดินจะสูงมากจนเปนพิษ

                  ตอพืชสมุนไพร
                           11) สภาวะการเขตกรรม (Soil workability)

                             คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทนไดแก  ชั้นความยากงายในการเขตกรรม ซึ่งอาจหมายถึง
                  การไถพรวนโดยเครื่องจักรหรือสัตว หรือเครื่องมืออื่นๆ  ที่ใชมือก็ได ชั้นระดับความยากงายในการ

                  ไถพรวนใชมาตรฐานเดียวกันกับการจัดลําดับการหยั่งลึกของราก แตใชเฉพาะดินบนเทานั้น
                           12) ศักยภาพการใชเครื่องจักร (Potential for mechanization)

                             คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทนไดแก  ความลาดชันของพื้นที่ ปริมาณหินโผล ปริมาณกอน

                  หิน และการมีเนื้อดินเหนียวจัด ซึ่งปจจัยทั้ง 4 เหลานี้อาจเปนอุปสรรคตอการไถพรวนโดยเครื่องจักรดัง
                  ตารางที่ 3-2







                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53