Page 110 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 110

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          80



                              S3          S3s, S3o, S3sd
                           การจ าแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินเป็นการประเมินความสามารถของดินหรือประเมิน

               ศักยภาพของดินต่อการปลูกพืชหรือประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ได้กล่าวไว้แล้วโดยการหาความสัมพันธ์
               ระหว่างคุณภาพที่ดินจากชุดดินที่ได้ท าการส ารวจไว้ในขั้นละเอียด (กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน, 2563)

               กับความต้องการปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพืชหรือประเภทการใช้ประโยชน์

               ที่ดินแต่ละชนิด เพื่อจ าแนกชั้นความเหมาะสมของชุดดินต่าง ๆ ต่อประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                           การจ าแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินเป็นการประเมินความสามารถของดินหรือประเมิน

               ศักยภาพของดินต่อการปลูกพืชหรือประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ได้กล่าวไว้แล้วโดยการหาความสัมพันธ์

               ระหว่างคุณภาพที่ดินจากกชุดดินที่ได้ท าการส ารวจไว้ในขั้นละเอียด (ส่วนส ารวจจ าแนกดินที่ 3, 2549)
               กับความต้องการปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพืชหรือประเภทการใช้ประโยชน์

               ที่ดินแต่ละชนิด เพื่อจ าแนกชั้นความเหมาะสมของชุดดินต่าง ๆ ต่อประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                           ทั้งนี้ได้ท าการจ าแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินดังกล่าวออกเป็น 4 ชั้น โดยใช้ปัจจัยหรือ ข้อ
               ขีดขั้นต่าง ๆ พิจารณาผลของการจ าแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินได้ดังตารางแสดงชั้นความเหมาะสม

               ด้านกายภาพของหน่วยที่ดินส าหรับประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน และจากการจ าแนกชั้นความเหมาะสม
               ของที่ดินดังกล่าว สามารถสรุปหน่วยที่ดินและเนื้อที่ของแต่ละประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่มีชั้นความ

               เหมาะสมสูง ความเหมาะสมปานกลาง และความเหมาะสมเล็กน้อย

                           จากข้อมูลคุณภาพที่ดินของหน่วยที่ดิน ท าการประเมินความเหมาะสมด้านกายภาพของแผน
               ที่ดิน ในเขตเกษตรน้ าฝนร่วมกับประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่ลุ่มน้ า ได้แก่ ข้าวนาปี มันส าปะหลัง

               ยางพารา และปาล์มน้ ามัน จากการประเมินพบข้อจ ากัดส าหรับการใช้ที่ดินในเขตเกษตรน้ าฝน
               ดังตารางที่ 4-1

                           1) ข้าวนาปี

                              1.1) ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 57,935 ไร่ หรือร้อยละ 56.85 ของเนื้อที่
               ลุ่มน้ า ข้อจ ากัดของบางหน่วยแผนที่ ประกอบด้วยลักษณะของเนื้อดิน (Soil texture : s ) ความเป็น

               ประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (Oxygen availability: o) และความลึกของดิน (Effective soil

               depth : d)
                           2) มันส าปะหลัง

                              2.1) ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 23,856 ไร่ หรือร้อยละ 23.41 ของเนื้อที่
               ลุ่มน้ า ข้อจ ากัดของบางหน่วยแผนที่ ประกอบด้วย ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยในรอบปีหรือความต้องการน้ า

               ในช่วงการเจริญเติบโตของพืช (r) ความอิ่มตัวด้วยเบส (b) ความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออนบวก

               (cation exchange capacity: c) ปริมาณอินทรียวัตถุ (organic matter : m) ความเป็นประโยชน์ของ
               ฟอสฟอรัส (available phosphorus :   p) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (exchangeable

               potassium : k) และความเป็นกรด-ด่างของดิน (soil reaction : a)
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115