Page 107 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 107

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             77



                   เซนติเมตร ซึ่งมีการดูแลรักษาและใส่ปุ๋ยเคมี โดยใส่ปุ๋ยรองพื้น (ช่วงเตรียมดินหรือหลังปักด าข้าว 15 วัน)

                   ใช้สูตร 16-20-0 (ดินเหนียว) ,16-8-8 หรือ 16-16-8 (ดินทราย) ในอัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับการใส่
                   ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยชีวภาพ อัตราเฉลี่ย 171.50 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยแต่งหน้า (ระยะ

                   ข้าวตั้งท้อง) ใส่สูตร 46-0-0 และ 15-15-15 อัตราเฉลี่ย 25 กิโลกรัมต่อไร่ การก าจัดวัชพืชใช้แรงงานคน

                   และสารเคมีในการป้องกันและก าจัดวัชพืช เกษตรกรในพื้นที่โดยส่วนใหญ่จะเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวในช่วง
                   กลางเดือนพฤศจิกายน ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 346.50 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิต

                   โดยส่วนใหญ่จะผลิตเพื่อขาย
                                    1.1.2) พันธุ์ กข 6 เป็นข้าวไวแสงมีการปลูกและเตรียมดินประมาณเดือนกรกฎาคม

                   เกษตรกรในพื้นที่นิยมปลูกด้วยวิธีปักด ามากว่าวิธีหว่านโดยใช้กล้าข้าวที่มีอายุ 1 เดือน ใช้ระยะปลูก

                   25x25 เซนติเมตร ซึ่งมีการดูแลรักษาและใส่ปุ๋ยเคมี โดยใส่ปุ๋ยรองพื้น (ช่วงเตรียมดินหรือหลังปักด าข้าว
                   15 วัน) ใช้สูตร 16-20-0 (ดินเหนียว), 16-8-8 หรือ 16-16-8 (ดินทราย) ในอัตรา 20-25 กิโลกรัมต่อไร่

                   ร่วมกับการใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยชีวภาพ อัตราเฉลี่ย 171.50 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ย
                   แต่งหน้า (ระยะข้าวตั้งท้อง) ใส่สูตร 46-0-0 และ 15-15-15 อัตราเฉลี่ย 25 กิโลกรัมต่อไร่ การก าจัดวัชพืชใช้

                   แรงงานคนและสารเคมีในการป้องกันและก าจัดวัชพืช เกษตรกรในพื้นที่โดยส่วนใหญ่จะเก็บเกี่ยวผลผลิต

                   ข้าวในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน จะเก็บเกี่ยวช้ากว่าข้าวขาวดอกมะลิ 105 เพราะเป็นข้าวพันธุ์หนักอายุ
                   การเก็บเกี่ยวจะช้ากว่าข้าวขาวดอกมะลิ 105 ผลผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ 357.01 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตโดยส่วนใหญ่

                   จะผลิตเพื่อการบริโภคภายในครัวเรือนเท่านั้น

                                1.2) มันส าปะหลัง เป็นพืชเศรษฐกิจที่เกษตรกรในพื้นที่ลุ่มน้ า มีการเพาะปลูก เป็นพืชไร่ที่
                   ต้องอาศัยน้ าฝนส าหรับการเจริญเติบโตและให้ผลผลิต พันธุ์ที่นิยมปลูก คือ พันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 เป็น

                   พันธุ์ที่มีลักษณะการงอกดี ล าต้นสูงใหญ่ หัวดก และมีลักษณะเป็นกลุ่มสามารถเก็บเกี่ยวได้สะดวก และยัง
                   มีปริมาณแป้งในหัวสูง สามารถปลูกได้ทั่วประเทศ

                                การปลูกและดูแลรักษา มีการเตรียมดินประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน โดยการ

                   เตรียมดินมีการไถ 2 ครั้ง ด้วยผาน 3 และผาน ไถลึกประมาณ 8-12 นิ้ว โดยไถกลบมันส าปะหลังที่เหลือ
                   จากการเก็บเกี่ยวในฤดูเพาะปลูกที่ผ่านมา ส าหรับพื้นที่ปลูกที่ลาดเอียงการไถควรขวางทิศทางของความ

                   ลาดเอียงเพื่อลดการสูญเสียหน้าดิน ใช้ท่อนพันธุ์ที่มีอายุ 11 เดือน ตัดท่อนพันธุ์ให้มีขนาด 25-30
                   เซนติเมตร ใช้ระยะปลูก 100 x100 เซนติเมตร การปลูกมันส าปะหลังจ าเป็นต้องใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิต

                   และรักษาระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 หรือ สูตร 16-8-16 ในอัตรา 50-100

                   กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง ๆ ละเท่า ๆ กัน ในครั้งแรกให้ใส่หลังจากปลูกมันส าปะหลังแล้ว 1 เดือน
                   ครั้งที่ 2 ใส่เมื่อมันส าปะหลังมีอายุได้ 3 เดือน นอกจากการใส่ปุ๋ยเคมีแล้ว เกษตรกรอาจใช้ปุ๋ยพืชสด

                   โดยการปลูกพืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วเขียว ถั่วพุ่ม หรือปอเทือง แล้วไถกลบในระยะก่อนออกดอก หรือ

                   ปลูกพืชแซมที่ช่วยบ ารุงดินปลูกระหว่างแถว เพื่อช่วยรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินได้อีกวิธีหนึ่ง
                   การก าจัดวัชพืช เป็นสิ่งที่จ าเป็นมากเนื่องจากการปล่อยให้วัชพืชขึ้นแข่งขันกับมันส าปะหลังโดยไม่ก าจัด

                   จะท าให้ผลผลิตลดลงถึง 25-50 เปอร์เซ็นต์ การก าจัดวัชพืชควรท าอย่างน้อย 2 ครั้ง คือ เมื่อมันส าปะหลัง
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112