Page 115 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 115

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             85



                   ลุ่มน้ า และพื้นที่หมู่บ้านบนพื้นที่ราบ เช่น บ้านกุดหวาย ต าบลเมืองเดช เป็นต้น อยู่บริเวณตอนกลางของ

                   เนื้อที่ลุ่มน้ า ส่วนพื้นที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ พื้นที่ทุ่งหญ้า ไม้ละเมาะ และพื้นที่ลุ่ม ส่วนพื้นที่แหล่งน้ า คือ แม่น้ า
                   ล าโดมใหญ่ ทั้งนี้พื้นที่เบ็ดเตล็ดและพื้นที่แหล่งน้ าอยู่ในบริเวณด้านทิศใต้ของเนื้อที่ลุ่มน้ า สภาพพื้นที่มี

                   ความลาดชันต่ ากว่า 12 เปอร์เซ็นต์

                                 ข้อเสนอแนะการใช้พื้นที่ในเขตฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใต้เงื่อนไข
                                 - ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เรื่อง

                   มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาที่ดินป่าไม้ โดยมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย เช่น
                   เขตอุทยานแห่งชาติ และพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี ก าหนดให้กรมป่าไม้ส ารวจพื้นที่ที่มีการ

                   ครอบครองให้ชัดเจน

                                 - ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2540 เรื่อง
                   แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ระดับพื้นที่ เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้

                   อย่างมีระบบโดยให้มีการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาที่ยั่งยืน และสงวนรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรป่าไม้ที่
                   เหลืออยู่รวมถึงฟื้นฟูป่าที่เสื่อมสภาพ โดยต้องอยู่บนหลักในการลดปัญหาความขัดแย้งของการใช้

                   ทรัพยากรในพื้นที่

                                 - ควรเพิ่มมาตรการในการอนุรักษ์ที่เข้มงวด และต่อเนื่อง เพื่อคงสภาพป่าไม้ให้มีความ
                   สมบูรณ์ โดยการพัฒนาด้านต่าง ๆ ต้องค านึงถึงความยั่งยืนของระบบนิเวศและผลกระทบต่อพื้นที่ลุ่มน้ า

                   ด้านล่าง โดยเฉพาะแนวทางจัดการให้พื้นที่ป่าไม้เป็นตัวควบคุมปริมาณน้ าในลุ่มน้ าในเวลาที่เหมาะสม เช่น

                   การสร้างฝายชะลอน้ าในบริเวณที่เหมาะสม
                                 - ควรเร่งปลูกป่าทดแทนและฟื้นฟูสภาพป่าเพื่อรักษาระบบนิเวศลุ่มน้ าบริเวณพื้นที่ที่มี

                   ความลาดชันสูง และพื้นที่เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลาย โดยเพิ่มมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม
                   เช่น การปลูกหญ้าแฝกและสร้างฝายชะลอน้ า เป็นต้น

                                 - ควรส่งเสริมและรณรงค์ให้ราษฎรในพื้นที่เห็นถึงคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้และมีส่วนร่วม

                   ในการดูแลและบ ารุงรักษาผืนป่าในพื้นที่ร่วมกัน

                                                   มีเนื้อที่ประมาณ 95,496 ไร่ หรือร้อยละ 79.56 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า

                   พื้นที่ในเขตนี้อยู่นอกเขตที่มีการประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมาย ซึ่งเป็นพื้นที่ท ากินมีการออกเอกสาร
                   สิทธิ์ (โฉนด และ ส.ป.ก.) และจากการพิจารณาสามารถแบ่งพื้นที่ตามความเหมาะสมของที่ดินและ

                   ศักยภาพของพื้นที่ได้เป็น 4 เขตย่อย ดังนี้

                              1) เขตพื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชันน้อยกว่า 12 เปอร์เซ็นต์ (หน่วยแผนที่ 24)
                   มีเนื้อที่ประมาณ 29,100 ไร่ หรือร้อยละ 24.23 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า พื้นที่เขตนี้มีการใช้ที่ดินเพื่อการปลูกพืชไร่

                   ไม้ผล และไม้ยืนต้น ในสภาพพื้นที่มีความลาดชันน้อยกว่า 12 เปอร์เซ็นต์ มีข้อเสนอแนะในการใช้พื้นที่เขต
                   พื้นที่เกษตรกรรมมีความลาดชันน้อยกว่า 12 เปอร์เซ็นต์ ดังนี้
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120