Page 101 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 101

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                             71


                   ทั้งหมด 3,698.00 บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดขาดทุน 9,742.00 บาทต่อไร่

                   อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 3.63
                           เมื่อพิจารณาในภาพรวมของผลผลิต ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทนของการผลิต

                   มันส าปะหลัง ในพื้นที่ตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า ต้นทุนการผลิตมี

                   แนวโน้มที่ลดลงตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินที่เพิ่มขึ้น ปริมาณผลผลิตมีแนวโน้ม
                   เพิ่มขึ้นเมื่อระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนมี

                   แนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้นทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ที่มีการ
                   ชะล้างพังทลายของดินน้อยมาก ค่อนข้างเป็นพื้นที่ราบ อาจจะท าให้การระบายน้ าไม่ค่อยดีเท่าที่ควร

                   ส่งผลให้ได้รับผลผลิตมันส าปะหลังน้อยกว่ามันส าปะหลังที่ปลูกในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินน้อย

                              3.4) ยางพารา ปลูกในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับ คือ ระดับน้อยมาก และ
                   ระดับน้อย พันธุ์ที่นิยมปลูก RRIM 600 โดยพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อยมาก เกษตรกร

                   ได้รับผลผลิตเฉลี่ย 312.50 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 5,562.50บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด
                   5,780.43 บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดขาดทุน 217.93 บาทต่อไร่ อัตราส่วน

                   ผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 0.96 ส่วนพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อย เกษตรกรได้รับ

                   ผลผลิตเฉลี่ย 357.91 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 6,370.80บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 6,149.52
                   บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 221.28 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน

                   ทั้งหมด 1.04

                              เมื่อพิจารณาในภาพรวมของผลผลิต ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทนของการผลิตยางพารา
                   ในพื้นที่ตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า ต้นทุนการผลิตและปริมาณผลผลิตมี

                   แนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่อระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลตอบแทนเหนือ
                   ต้นทุนทั้งหมดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ผลผลิต

                   ที่เพิ่มขึ้นไม่ได้เกิดจากระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้นเพียงปัจจัยเดียว อาจจะ

                   เกิดจากลักษณะดิน และสภาพภูมิอากาศที่มีผลต่อจ านวนวันกรีดในรอบปี ส่วนต้นทุนที่เพิ่มขึ้นตามระดับ
                   ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่จะเป็นต้นทุนในส่วนของแรงงานคน และค่า

                   วัสดุการเกษตรโดยเฉพาะค่าปุ๋ยเคมี และค่าน้ ากรดที่แปรผันตามจ านวนวันกรีดในรอบปี
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106