Page 105 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 105

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                             75


                              ทั้งนี้จะเห็นได้ว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดการชะ

                   ล้างพังทลายของดินในแต่ละวิธีการมากน้อยแตกต่างกันโดยพบว่า 3 อันดับแรกที่เกษตรมีความรู้ คือ การ
                   ปลูกหญ้าแฝกขวางทางลาดชัน การใช้วัสดุต่าง ๆ อย่างง่าย (เช่นท่อนไม้ หิน กระสอบบรรจุทราย อิฐฯ)

                   ก่อสร้างขวางทางระบายน้ าเพื่อชะลอความเร็วของน้ าไม่ให้กัดเซาะ และการท าฝายน้ าล้นหรือคันชะลอ

                   ความเร็วของน้ า (ตารางที่ 3-19)

                   ตารางที่ 3-19  ความรู้ ความเข้าใจ และวิธีการรักษาและป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน

                                 พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด อ าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร

                                                                               ร้อยละ           ล าดับความรู้
                                  วิธีการรักษาและป้องกัน
                                                                       ใช่     ไม่ใช่   ไม่แน่ใจ

                    1) การปลูกหญ้าแฝกขวางทางลาดชัน                    91.36     3.70       4.94     1
                    2) การใช้วัสดุต่าง ๆ อย่างง่าย (เช่นท่อนไม้ หิน กระสอบ

                       บรรจุทราย อิฐฯ) ก่อสร้างขวางทางระบายน้ าเพื่อชะลอ   85.19   -     14.81      2
                       ความเร็วของน้ าไม่ให้กัดเซาะ

                    3) การท าฝายน้ าล้นหรือคันชะลอความเร็วของน้ า     83.95     6.17       9.88     3
                    4) การปลูกพืชคลุมดิน                              79.01     7.41     13.58      4

                    5) การท าคันดินขวางทางลาดเท                       66.67     6.17     27.16      5


                    6) การถางป่า ตัดไม้ท าลายป่าการขุดถนนท าให้เกิดการ   64.20   8.64    27.16      6

                       ชะล้างพังทลายของดิน
                    7) ยกร่องและปลูกพืชท าร่องน้ าไปตามแนวระดับ       46.91     7.41     45.68      7

                    8) การใช้วัสดุต่าง ๆ คลุมดิน เช่นเศษซากพืช พลาสติก    38.27   7.41   54.32      8

                        กระดาษ เป็นต้น
                    9) ปลูกพืชสลับเป็นแถบ                             34.57     9.88     55.56      9

                    10) ปลูกพืชแบบขั้นบันได(ปรับพื้นที่เป็นขั้นๆ)     32.10    16.05     51.85     10

                    11) ปลูกพืชหมุนเวียน/ปลูกพืชแซม/ปลูกพืชเลื่อมฤดู   17.28    8.64     74.07     11
                    12) อื่น ๆ ขุดสระเพื่อดักตะกอนดิน                   7.41       -          -    12

                   ที่มา: จากการส ารวจ (2563)
                             เมื่อพิจารณาข้อมูลทัศนคติของเกษตรกรเกี่ยวกับปัญหาด้านการเกษตร และแนวทางแก้ไข

                   ของเกษตรกรพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 95.06 ประสบปัญหาด้านการเกษตร โดยส่วนใหญ่
                   เกษตรกรประสบปัญหาฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง ขาดแคลนน้ า ร้อยละ 72.73 ของเกษตรกรที่ประสบปัญหา

                   รองลงมา คือประสบปัญหาดินขาดความอุดมสมบูรณ์ น้ าท่วม และศัตรูพืชรบกวน ร้อยละ 25.97 24.68

                   และ 9.09 ตามล าดับ
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110