Page 100 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 100

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          70


               1,167.39 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.40 ส่วนพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของ

               ดินระดับน้อย เกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 303.33 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 3,303.30
               บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 3,271.02 บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 32.28 บาทต่อไร่

               อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.01

                           (6) ข้าวเจ้านาปรัง (นาหว่าน) ปลูกในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อย พันธุ์ที่
               นิยมปลูก คือ ขาวดอกมะลิ 105 และปทุมธานี 1โดยเกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 578.27 กิโลกรัมต่อไร่

               คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 6,650.14 บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 3,977.86บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือ
               ต้นทุนทั้งหมด 2,672.28 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.67

                           เมื่อพิจารณาในภาพรวมของผลผลิต ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทนของการผลิตข้าวใน

               พื้นที่ตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า ต้นทุนการผลิตมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นตาม
               ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินที่เพิ่มขึ้น ปริมาณผลผลิตมีแนวโน้มลดลงเมื่อระดับความ

               รุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนมีแนวโน้มลดลงเมื่อระดับ
               ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น

                        3.2) อ้อยโรงงาน ปลูกในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับ คือ ระดับน้อยมากและ

               ระดับน้อย พันธุ์ที่นิยมปลูก คือ ขอนแก่น 3 โดยพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อยมาก
               เกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 11,071.43 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 8,082.14บาทต่อไร่ ต้นทุน

               ทั้งหมด 4,040.50 บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 4,041.64 บาทต่อไร่ อัตราส่วน

               ผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 2.00 ส่วนพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อย เกษตรกรได้รับ
               ผลผลิตเฉลี่ย 10,404.04 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 7,594.95บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด

               4,354.99บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 3,239.96 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทน
               ต่อต้นทุนทั้งหมด 1.74

                           เมื่อพิจารณาในภาพรวมของผลผลิต ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทนของการผลิตอ้อย

               โรงงานในพื้นที่ตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า ต้นทุนการผลิตมีแนวโน้มที่
               เพิ่มขึ้นตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินที่เพิ่มขึ้น ปริมาณผลผลิตมีแนวโน้มลดลงเมื่อ

               ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนมีแนวโน้มลดลง
               เมื่อระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น

                        3.3) มันส าปะหลัง ปลูกในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับ คือ ระดับน้อยมาก และ

               ระดับน้อย พันธุ์ที่นิยมปลูก คือ ระยอง 3 และห้วยบง 8 โดยพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อย
               มาก เกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 5,166.67 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 10,850.01 บาทต่อไร่

               ต้นทุนทั้งหมด 3,784.34 บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 7,065.67 บาทต่อไร่

               อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 2.87 ส่วนพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อย
               เกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 6,400.00 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 13,440.00บาทต่อไร่ ต้นทุน
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105