Page 99 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 99

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                             69


                   ยางพารา โดยพิจารณาการปลูกพืชตามระดับของความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับคือ

                   น้อยมาก (0-1ตันต่อไร่ต่อปี) และน้อย (1-2 ตันต่อไร่ต่อปี) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (ตารางที่ 3-17)

                           3.1) ข้าว จ าแนกเป็นข้าวเหนียวนาปีนาหว่าน ข้าวเหนียวนาปีนาด า ข้าวเจ้านาปี นาหว่าน

                   ข้าวเจ้านาปีนาด า ข้าวเหนียวนาปรังนาหว่าน และข้าวเจ้านาปรังนาด า

                              (1) ข้าวเหนียวนาปี (นาหว่าน) ปลูกในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับ คือ

                   ระดับน้อยมาก และระดับน้อย พันธุ์ที่นิยมปลูก คือ พันธุ์กข 6 และกข 12 โดยพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลาย
                   ของดินระดับน้อยมาก เกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 280.14 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 3,952.78

                   บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 3,190.42บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 762.36 บาทต่อไร่

                   อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.24 ส่วนพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อย
                   เกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 237.26 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 3,347.74 บาทต่อไร่ ต้นทุน

                   ทั้งหมด 3,679.89 บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดขาดทุน332.15 บาทต่อไร่ อัตราส่วน
                   ผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 0.91

                              (2) ข้าวเหนียวนาปี (นาด า) ปลูกในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับ คือ ระดับ
                   น้อยมาก และระดับน้อย พันธุ์ที่นิยมปลูก คือ พันธุ์ กข 6 และ กข 12 โดยพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของ

                   ดินระดับน้อยมาก เกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 283.06 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 3,993.98

                   บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 3,393.47บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 600.51 บาทต่อไร่
                   อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.18 ส่วนพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อย

                   เกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 280.45 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 3,957.15 บาทต่อไร่ ต้นทุน

                   ทั้งหมด 3,495.10 บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 462.05 บาทต่อไร่ อัตราส่วน
                   ผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.13

                              (3) ข้าวเจ้านาปี (นาหว่าน) ปลูกในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อย พันธุ์ที่

                   นิยมปลูก คือ ขาวดอกมะลิ 105 โดยเกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 247.67 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่า
                   ผลผลิต 3,828.98 บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 3,759.26บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด

                   69.72 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.02
                              (4) ข้าวเจ้านาปี (นาด า) ปลูกในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อยมาก พันธุ์ที่

                   นิยมปลูก คือ ขาวดอกมะลิ 105 โดยเกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 260.83 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่า

                   ผลผลิต 4,032.43 บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 3,436.38 บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด
                   596.05 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.17

                              (5) ข้าวเหนียวนาปรัง (นาหว่าน) ปลูกในพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับ คือ
                   ระดับน้อยมาก และระดับน้อย พันธุ์ที่นิยมปลูก คือ พันธุ์ กข6 กข10 และ กข 14 โดยพื้นที่ที่มีการชะล้าง

                   พังทลายของดินระดับน้อยมาก เกษตรกรได้รับผลผลิตเฉลี่ย 373.72 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าผลผลิต

                   4,069.81 บาทต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 2,902.42 บาทต่อไร่ ท าให้มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104