Page 103 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 103

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                             73


                   30.86 ของเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด มีแหล่งน้ าตื้นเขินมากขึ้นจากกการชะล้างพังทลายของดิน

                   รองลงมามีน้ าไหลบ่าพัดพาหน้าดินโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนพื้นที่มีสภาพหน้าดินมีร่องหรือร่องน้ าเล็ก ๆ
                   และเกษตรกรมีการใช้ปุ๋ยสารเคมียาฆ่าแมลงมากขึ้นร้อยละ 28.16 27.16 และ 1.23 ตามล าดับ

                              ทั้งนี้จะเห็นว่า เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของการชะล้างพังทลายของ

                   ดินต่อความเสียหายทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยดินที่ถูกชะล้างหรือ กัดเซาะจะถูกพัดพา
                   ไหลไปตกตะกอนในแหล่งน้ า ท าให้แหล่งน้ าตื้นเขิน ส่งผลให้ในฤดูฝนแม่น้ า ล าคลองเก็บน้ าไว้ไม่ทันเกิดน้ า

                   ท่วมและเกิดสภาวะขาดแคลนน้ าในฤดูแล้งอีกทั้งสารเคมีและ ยาฆ่าแมลงที่ไหลปนไปกับตะกอนดินสู่พื้นที่
                   ตอนล่าง ท าให้เกิดมลพิษสะสมในดินและน้ ามีผลเสียต่อคน พืช สัตว์บก และสัตว์น้ า

                              4.2) ผลกระทบต่อผลผลิต เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 60.00 ได้รับผลกระทบต่อปริมาณ

                   ผลผลิต โดยส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบในระดับน้อย (ผลผลิตลดลงไม่เกิน 20%) ร้อยละ 83.33 ของ
                   เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ รองลงมาคือ ได้รับผลกระทบในระดับปานกลาง (ผลผลิตลดลง 20-40%)

                   ร้อยละ 16.67 ของเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ แต่มีเกษตรบางส่วน ร้อยละ 40.00ไม่ได้รับผลกระทบจาก
                   การชะล้างพังทลายที่เกิดขึ้น ท าให้ไม่มีผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตทางเกษตร

                              4.3) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลาย จากสภาพปัญหาของการชะ

                   ล้างพังทลายของดินในพื้นที่เพาะปลูกพืชและที่อยู่อาศัยของเกษตรกร จะเห็นว่ามีเกษตรกรเพียงร้อยละ
                   45.00 ของเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด มีการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลาย โดยเกษตรกร

                   ส่วนใหญ่ ร้อยละ 27.78 ของเกษตรกรที่มีการป้องกันและแก้ไขปัญหา ได้น ากระสอบบรรจุดินขวางทางน้ า

                   รองลงมา คือ ท าคันนาให้ใหญ่ขึ้น ปรับพื้นที่ให้สม่ าเสมอ และท าร่องน้ า ร้อยละ 22.22 16.67 และ 11.11
                   ตามล าดับ นอกจากนี้เกษตรกรยังมีการป้องกันและแก้ไข โดยการปลูกกอใฝ่บริเวณริมห้วย ปลูกหญ้าแฝก

                   ขุดบ่อดักตะกอน และท าคันดินขวางทางน้ า ในขณะที่เกษตรกรมากถึงร้อยละ 55.00 ของเกษตรกรกลุ่ม
                   ตัวอย่างทั้งหมด ไม่มีการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายโดยเกษตรกรส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่า

                   ขาดองค์ความรู้ ร้อยละ 90.91 ของเกษตรกรที่ไม่มีการป้องกันและแก้ไข ปัญหารองลงมาขาดงบประมาณ

                   และไม่มีเวลา ร้อยละ 4.55 เท่ากัน ทั้งนี้เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 86.36 ของเกษตรกรทั้งหมด มีความ
                   ต้องการให้หน่วยงานรัฐเข้ามาช่วยเหลือด าเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหา แต่ยังมีเกษตรกรบางส่วนที่ไม่

                   ต้องการให้เข้ามาด าเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว

                   ตารางที่ 3-18  ความรู้ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด อ าเภอสว่างแดนดิน

                                จังหวัดสกลนคร ปีการผลิต 2562

                                                     รายการ                                     ร้อยละ
                    1) ลักษณะและสภาพปัญหาด้านการชะล้างพังทลายของดิน

                       ในพื้นที่ปลูกพืชและที่อยู่อาศัย(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
                          (1) แหล่งน้ าตื้นเขินมากขึ้น                                           30.86

                          (2) น้ าไหลบ่าพัดพาหน้าดิน                                             28.16
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108