Page 82 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 82

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          68


               ตารางที่ 3-7  สภาวะเศรษฐกิจและสังคม พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา (ต่อ)

                                                               ต าบล
                 สภาวะเศรษฐกิจและสังคม                                                        ค่าเฉลี่ย
                                         โนนไทย      มะค่า     ด่านจาก    สายออ     ค้างพลู
                    (2) ไม่มีเอกสารสิทธิ์            มี                                                                                                                                                                                                                  มี   มี   มี   มี
                8) เครื่องมือการเกษตร    รถไถเดินตาม   รถไถเดินตาม   รถไถเดินตาม   รถไถเดินตาม  รถไถเดินตาม

                                         รถไถใหญ่   รถไถใหญ่   รถไถใหญ่   รถไถใหญ่   รถไถใหญ่
                                        รถเกี่ยวข้าว   รถเกี่ยวข้าว   รถเกี่ยวข้าว   รถเกี่ยวข้าว  รถเกี่ยวข้าว
                                         รถตัดอ้อย     รถตัดอ้อย     รถตัดอ้อย     รถตัดอ้อย    รถตัดอ้อย
                                        เครื่องพ่นยา  เครื่องพ่นยา  เครื่องพ่นยา  เครื่องพ่นยา  เครื่องพ่นยา
                                        เครื่องสูบน้ า  เครื่องสูบน้ า  เครื่องสูบน้ า  เครื่องสูบน้ า  เครื่องสูบน้ า
                                       เครื่องตัดหญ้า  เครื่องตัดหญ้า  เครื่องตัดหญ้า  เครื่องตัดหญ้า เครื่องตัดหญ้า

               ที่มา: ดัดแปลงจากกรมการพัฒนาชุมชน (2562)

                     3) พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ
                        จากผลการศึกษาสถานการณ์พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแค ปีการผลิต 2562

               ได้แก่ ข้าว (ข้าวเจ้านาปี) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันส าปะหลัง และอ้อยโรงงาน โดยพิจารณาการปลูกพืชตาม

               ระดับของความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับ คือ น้อย (0-2 ตันต่อไร่ต่อปี) และ
               ปานกลาง (2-5 ตันต่อไร่ต่อปี) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (ตารางที่ 3-8 )

                        3.1) ข้าวเจ้านาปี (นาหว่าน) ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับ คือระดับน้อย

               และระดับปานกลาง พันธุ์ที่ใช้ปลูก คือ พันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 พื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน
               ระดับน้อย ผลผลิตเฉลี่ย 364.28 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนการผลิตทั้งหมด 3,158.36 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณา

               ต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 1,078.22 บาทต่อไร่ อัตราส่วน
               ผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.34 พื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับปานกลาง ผลผลิตเฉลี่ย

               350.68 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนการผลิตทั้งหมด 3,573.41 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน

               พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 505.00 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.14
                        3.2) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับ คือ ระดับน้อย

               และระดับปานกลาง พันธุ์ที่ใช้ปลูก คือ พันธุ์ไพโอเนีย 46 และแปซิฟิก 222 พื้นที่ดินที่มีการชะล้าง
               พังทลายของดินระดับน้อย ผลผลิตเฉลี่ย 642.21 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 3,260.37 บาทต่อไร่

               ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 721.33 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.22

               พื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับปานกลาง ผลผลิตเฉลี่ย 636.80 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด
               3,378.51 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 569.65 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน

               ทั้งหมด 1.17

                       3.3) มันส าปะหลัง ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับ คือ ระดับน้อย และ
               ระดับปานกลาง พันธุ์ที่ใช้ปลูก คือ พันธุ์เกษตรศาสตร์ 72 และระยอง 60 พื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลาย

               ของดินระดับน้อย ผลผลิตเฉลี่ย 3,290.50 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 5,180.69 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87