Page 84 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 84

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          70


               ตารางที่ 3-8  ต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดของการปลูกพืชในพื้นที่มี

                           ระดับการชะล้างพังทลายของดินต่างกัน

                              ระดับการ    ผลผลิต     ราคา       มูลค่า   ต้นทุนการ ผลตอบแทนเหนือ  B/C
                   พืช      ชะล้างพังทลาย   เฉลี่ย   ผลผลิต     ผลผลิต   ผลิตทั้งหมด  ต้นทุนทั้งหมด   ratio

                              ของดิน*     (กก./ไร่)   (บาท/กก.)   (บาท/กก.)   (บาท/ไร่)   (บาท/ไร่)
                ข้าวเจ้านาปี   น้อย         364.28      11.63   4,236.58     3,158.36     1,078.22   1.34
                (นาหว่าน)      ปานกลาง      350.68      11.63   4,078.41     3,573.41      505.00   1.14

                ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์  น้อย     642.21     6.20    3,981.70     3,260.37      721.33   1.22

                               ปานกลาง       636.80     6.20    3,948.16     3,378.51      569.65   1.17
                มันส าปะหลัง   น้อย         3,290.50    2.00    6,581.00     5,180.69     1,400.31   1.27
                               ปานกลาง      3,008.33    2.00    6,016.66     5,337.45      679.21   1.13
                อ้อยโรงงาน     น้อย         7,720.65    1.20    9,264.78     8,642.31      622.47   1.07

                               ปานกลาง      7,490.32    1.20    8,988.38     8,826.42      161.96   1.02
               หมายเหตุ * ระดับการชะล้างพังทลายของดิน 3 ระดับ ซึ่งมีปริมาณการสูญเสียดิน คือ น้อย (0-2 ตัน/ไร่/ปี)
                         ปานกลาง (2-5 ตัน/ไร่/ปี) และรุนแรง (5-12 ตัน/ไร่/ปี)

                     4) ความรู้ ความเข้าใจ ด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า

                        จากผลการสัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า
               ในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแค โดยมุ่งเน้นข้อมูลเกี่ยวกับ 1) ความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของดิน 2)

               ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อผลผลิต 3) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และ

               ทัศนคติต่อการป้องกันสภาพปัญหา (ตารางที่ 3-9)
                        4.1) ความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของดิน เกษตรกรให้ข้อมูลถึงการชะล้างพังทลาย

               ของดินในพื้นที่เพาะปลูกพืช และที่อยู่อาศัยของเกษตรกร พบว่า เกษตรกรร้อยละ 10.34 ของเกษตรกร
               ทั้งหมด โดยส่วนมากมีการใช้ปุ๋ย สารเคมี ยาฆ่าแมลงเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 10.23 ของเกษตรที่ให้ข้อมูลถึง

               การชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่เพาะปลูกพืช ที่เหลือพื้นที่มีสภาพหน้าดินเป็นร่องหรือร่องน้ าขนาดเล็ก
               การชะล้างพังทลายของหน้าดินส่งผลให้แหล่งน้ าตื้นเขินขึ้น ท าให้มีปริมาณการกักเก็บน้ าได้น้อยลง ร้อยละ

               3.45 เท่ากัน

                        ทั้งนี้ จะเห็นว่า เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของการชะล้างพังทลายของดิน
               ต่อความเสียหายทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยดินที่ถูกชะล้างหรือกัดเซาะจะถูกพัดพา

               ไหลไปตกตะกอนในแหล่งน้ า ท าให้แหล่งน้ าตื้นเขิน ส่งผลให้ในฤดูฝนแม่น้ าล าคลองเก็บน้ าไว้ไม่ทันเกิด

               น้ าท่วม และเกิดสภาวะขาดแคลนน้ าในฤดูแล้ง อีกทั้งสารเคมีและยาฆ่าแมลงที่ไหลปนไปกับตะกอนดิน
               สู่พื้นที่ตอนล่าง ท าให้เกิดมลพิษสะสมในดินและน้ ามีผลเสียต่อคน พืช สัตว์บก และสัตว์น้ า

                        4.2) ผลกระทบต่อผลผลิต เกษตรกรส่วนใหญ่ ร้อยละ 93.67 ให้ข้อมูลในพื้นที่ไม่มีสภาพปัญหา

               การชะล้างพังทลายที่เกิดขึ้นไม่ได้ส่งผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตทางเกษตร มีเกษตรกรเพียง ร้อยละ
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89