Page 85 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 85

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             71


                   3.33 ที่ได้รับผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตจากการชะล้างพังทลายของดิน ในกรณีพื้นที่เพาะปลูกทางการ

                   เกษตรที่มีสภาพเป็นร่องน้ า และได้รับผลกระทบต่อผลผลิตระดับน้อย (ลดลงไม่เกิน 20%)
                           4.3) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลาย จากสภาพปัญหาของการชะล้าง

                   พังทลายของดินในพื้นที่เพาะปลูกพืช และที่อยู่อาศัยของเกษตรกร จะเห็นว่า มีเกษตรกรเพียงร้อยละ

                   3.33 ของเกษตรกรทั้งหมดที่มีปัญหาหน้าดินมีร่อง เกษตรกรทั้งหมด มีการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ
                   ชะล้างพังทลาย ด้วยการปลูกพืชคลุมดิน


                   ตารางที่ 3-9  ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแค อ าเภอโนนไทย จังหวัด
                              นครราชสีมา ปีการผลิต 2562

                                                     รายการ                                      ร้อยละ
                    1) ลักษณะและสภาพปัญหาด้านการชะล้างพังทลายของดิน

                       ในพื้นที่ปลูกพืชและที่อยู่อาศัย (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
                          (1) หน้าดินมีร่อง/ร่องน้ าเล็ก ๆ                                           3.45

                          (2) น้ าไหลบ่าพัดพาหน้าดิน                                                    -
                          (3) แหล่งน้ าตื้นเขินมากขึ้น                                               3.45

                          (4) มีการใช้ปุ๋ย/สารเคมี/ยาฆ่าแมลง มากขึ้น                                 6.90
                          (5) มีรอยทรุดหรือรอยแยก                                                       -
                          (6) ไม่มีสภาพที่ระบุข้างต้น                                                   -

                    2) ผลกระทบต่อผลผลิต (กรณีที่มีร่องน้ า/หน้าดินถูกพัดพาหรือทรุดตัว)
                          (1) ไม่มี                                                                 96.67

                          (2) มี  โดยมีผลกระทบให้ผลผลิตลดลงในระดับ                                   3.33
                               - น้อย  (ลดลงไม่เกิน 20%)                                           100.00

                               - ปานกลาง  (ลดลง 20-40%)                                                 -
                               - มาก (ลดลงมากกว่า 40%)                                                  -

                    3) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลาย
                        (กรณีหน้าดินมีร่อง/ร่องน้ าเล็ก ๆ)

                             (1) ด าเนินการแก้ไข/ป้องกัน  โดยวิธี                                       -
                                 - การปลูกพืชคลุมดิน                                               100.00

                                ทั้งนี้ จะเห็นว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดการ
                   ชะล้างพังทลายของดินในแต่ละวิธีการมากน้อยแตกต่างกัน แต่เมื่อสอบถามถึงความต้องการวิธีการรักษา

                   และป้องกันการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่เกษตรกร พบว่า 3 อันดับแรกที่เกษตรต้องการ คือ ปลูกพืช
                   คลุมดิน ใช้วัสดุต่าง ๆ อย่างง่าย (เช่นท่อนไม้ หิน กระสอบบรรจุทราย อิฐฯ) ก่อสร้างขวางทางระบายน้ า

                   เพื่อชะลอความเร็วของน้ าไม่ให้กัดเซาะ และท าฝายน้ าล้นหรือคันชะลอความเร็วของน้ า (ตารางที่ 3-10)
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90