Page 124 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 124

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                    114




               ตารางที่ 4.2 มาตรการอนุรักษ์วิธีกล โดยคันดินมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน


                   มำตรกำรอนุรักษ์วิธีกล                          วิธีกำรปฏิบัติ
                แบบที่ 1 คันดินเบนน้ า   ใช้เพื่อป้องกันน้ าไหลบ่าลงสู่พื้นที่เกษตรกรรม เหมาะกับพื้นที่ที่มีความลาดเท
                                        ไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาตรดินขุด-ถม ประมาณ 2.4 ลูกบาศก์เมตรต่อเมตร
                แบบที่ 2 คันดินเก็บกักน้ า   ควรใช้กับพื้นที่ดินร่วนปนทราย มีความลาดเทประมาณ   3-15 เปอร์เซ็นต์
                                        ปริมาตรดิน ขุด-ถม ประมาณ 1.2 ลูกบาศก์เมตรต่อเมตร
                แบบที่ 3 เป็นคันดินฐานกว้าง  ควรใช้กับพื้นที่ดินร่วนปนทราย มีความลาดเทไม่เกิน 8 เปอร์เซ็นต์
                                        ปริมาตรดิน ขุด-ถม ประมาณ 1.5 ลูกบาศก์เมตรต่อเมตร
                แบบที่ 4 เป็นคันดินฐานแคบ  ควรใช้กับพื้นที่ดินร่วนปนทรายที่มีความลาดเทประมาณ 3-15 เปอร์เซ็นต์
                                        ปริมาตรดินขุด-ถม ประมาณ 0.6 ลูกบาศก์เมตรต่อเมตร
                แบบที่ 5 คันคูรับน้ าขอบเขา   ควรใช้กับพื้นที่ที่มีความลาดเทไม่เกิน 35 เปอร์เซ็นต์
                                        ปริมาตรดินขุด-ถม ประมาณ 0.3 ลูกบาศก์เมตรต่อเมตร
                แบบที่ 6 คันคูรับน้ าขอบเขา   ควรใช้กับพื้นที่ๆ มีความลาดเทมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์
                                        ปริมาตรดินขุด-ถม ประมาณ 0.2 ลูกบาศก์เมตรต่อเมตร


                        2) การปรับรูปแปลงนา ซึ่งได้ก าหนดลักษณะของการปรับปรุงแปลงนาในเขตหมู่บ้านพัฒนาที่ดิน
               เพื่อให้น ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพมี 3 ลักษณะ ดังนี้
                          (1) การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1 เป็นคันดินที่สร้างขึ้นโดยให้ระดับของคันดินอยู่ระดับเดียวกัน
               เน้นให้มีการปลูกข้าวแบบเดิม แต่ก าหนดให้มีการปรับโครงสร้างให้มีคันดินเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์เพื่อเก็บกักน้ า
               ที่ไหลบ่ามาไว้เป็นช่วงๆ มีลักษณะเหมือนคันนา บนคันนาสามารถปลูกพืชชนิดต่างๆ ได้ ความสูงและความกว้าง
               ของคันนาหรือคันดินจะผันแปรไปตามลักษณะดิน พื้นที่ดินและลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน ปริมาณน้ าฝนที่ตก
               ลงมาหรือปริมาณน้ าที่จะเก็บกักหรือระบายออก









                ภาพที่ 4.4  แบบการปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1











                  ภาพที่ 4.5 สภาพพื้นที่ที่มีการปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129