Page 119 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 119

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       109




                   สิ่งปกคลุมดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยเลือกวิธีการผสมผสานทั้งวิธีกลและวิธีพืช ควบคู่กับการปรับปรุง
                   บ ารุงดินที่ถูกต้องและเหมาะสม ตลอดจนน ามาตรการด้านกฎหมาย  กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือนโยบายที่

                   เกี่ยวข้องกับทรัพยากรดินและที่ดินมาใช้เป็นเครื่องมือให้ทรัพยากรดินและที่ดินได้รับการอนุรักษ์ ปกป้อง
                   คุ้มครอง ฟื้นฟูและปรับปรุงบ ารุงดิน เพื่อให้มีศักยภาพการผลิต เพิ่มผลผลิต เกื้อหนุนสภาพแวดล้อมของระบบ
                   นิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ





                         มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า โดยทั่วไปแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ มาตรการวิธีกลและมาตรการวิธีพืช
                   ซึ่งมีข้อจ ากัดในการใช้งานที่แตกต่างกันตามลักษณะพื้นที่ความลาดเท ปริมาณน้ าฝน ปริมาณน้ าไหลบ่า ชนิดของ
                   ดิน เพื่อลดการชะล้างพังทลายของดิน ช่วยกักเก็บน้ าไหลบ่าไว้ในดินให้เป็นประโยชน์ต่อพืช (กรมพัฒนาที่ดิน,
                   2556; 2558)





                                  มาตรการอนุรักษ์วิธีกล (mechanical conservation measures) เป็นวิธีที่ใช้เครื่องมือต่าง

                   ๆ ปรับสภาพของพื้นที่เพื่อลดความยาวและความลาดเทของพื้นที่ โดยสร้างสิ่งกีดขวางความลาดเทของพื้นที่และ
                   ทิศทางการไหลของน้ า เพื่อช่วยควบคุมน้ าไหลบ่าหน้าดิน ชะลอและลดความเร็วของกระแสน้ า
                   ลดความสามารถในการเคลื่อนย้ายตะกอนดิน วิธีการนี้นับว่าเป็นวิธีการอนุรักษ์ดินแลน้ าที่ค่อนข้างถาวร
                   มีประสิทธิภาพสูง แต่ต้องใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูงเช่นกัน รวมทั้งต้องใช้เทคนิค ความรู้ แรงงาน เครื่องมือ เพื่อให้
                   เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และปัจจัยต่างๆ ซึ่งมาตรการอนุรักษ์วิธีกลมีหลายวิธี ดังนี้

                   ตารางที่ 4.1 มาตรการอนุรักษ์วิธีกล วิธีปฏิบัติ และการใช้งาน


                     มำตรกำรอนุรักษ์วิธีกล          วิธีปฏิบัติ                       กำรใช้งำน
                    1) การไถพรวนตามแนว   ไถพรวนไปตามแนวระดับขวางความ  เพิ่มการซาบซึมน้ าของดินและรักษาความ
                    ระดับ (contour tillage)  ลาดเทของพื้นที่               ชุ่มชื้นในดิน

                                                                          เหมาะสมกับพื้นที่ความลาดเท 2-8 เปอร์เซ็นต์
                                                                          ความยาวของความลาดเทไม่เกิน 100 เมตร

                                                                          ในพื้นที่ที่มีความแห้งแล้ง สามารถใช้ร่วมกับ
                                                                          มาตรการอื่น เช่น คันดิน ขั้นบันไดดิน

                    2) การยกร่องปิดหัวท้าย  ยกร่องปลูกพืชเป็นสองทิศทาง คือ    ช่วยเพิ่มการกักเก็บน้ า
                    (tied ridging)       กลุ่มหนึ่งยกร่องไปตามความลาดเท   ลดปริมาณน้ าไหลบ่า และลดการชะล้าง
                                         อีกกลุ่มหนึ่งยกร่องในแนวตั้งฉากกับ  พังทลายของดิน
                                         ความลาดเทท าให้เกิดเป็นรูปสี่เหลี่ยม    ควรใช้เสริมกับการปลูกพืชตามแนวระดับใน
                                         ผืนผ้าเล็กๆ เต็มพื้นที่          พื้นที่ที่มีความลาดเท ดินเป็นดินทราย

                                                                          ปริมาณน้ าฝนไม่เกิน 800 มิลลิเมตร จะช่วย
                                                                          เพิ่มปริมาณความชื้นให้แก่ดิน แต่ถ้าสันร่อง
                                                                          สูงมากและมีปริมาณฝนตกมากก็ท าให้เกิด
                                                                          ปัญหาน้ าแช่ขัง
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124