Page 126 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 126

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                    116








                                 มาตรการอนุรักษ์วิธีพืช (vegetatitve conservation measures) เป็นวิธีการป้องกัน
               การชะล้างพังทลายของดินโดยใช้การปลูกพืช เป็นการเพิ่มความหนาแน่นของพืช การคลุมดินป้องกันเม็ดฝน
               กระทบผิวดิน ตลอดจนการปรับปรุงบ ารุงดินที่เป็นการลงทุนต่ า และเกษตรกรสามารถปฏิบัติเองได้ เช่น การใช้
               พืชตระกูลถั่ว หญ้าเลี้ยงสัตว์ หรือหญ้าธรรมชาติ ปลูกเป็นแถบขวางความลาดเทของพื้นที่หรือปลูกคลุมดิน หรือ
               การใช้ระบบการปลูกพืชแบบผสมผสาน เพื่อลดความแรงของเม็ดฝน ดักตะกอนดิน และชะลอความเร็วของน้ า
               จ าเป็นต้องท าให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และปัจจัยต่าง ๆ วิธีการนี้สามารถกระท าได้ง่ายและลงทุนน้อย
               มีวิธีปฏิบัติดังตารางที่ 4.3


               ตารางที่ 4.3 มาตรการอนุรักษ์วิธีพืช  วิธีปฏิบัติ และการใช้งาน

                  มำตรกำรอนุรักษ์วิธีพืช        วิธีปฏิบัติ                      กำรใช้งำน

                1) การปลูกพืชตามแนว    ปลูกพืชขนานกันไปตามแนว  เหมาะกับพื้นที่ที่มีความลาดชัน 2-12 เปอร์เซ็นต์
                ระดับ (contour         ระดับขวางความลาดเทของ       มีความลาดเทสม่ าเสมอ และมีระยะความลาดเทไม่
                cultivation)           พื้นที่                     เกิน 100 เมตร
                2) การปลูกพืชคลุมดิน   ปลูกพืชตระกูลหญ้าหรือพืช   พืชที่ขึ้นปกคลุมผิวหน้าดินช่วยควบคุมการชะล้าง
                (cover cropping)       ตระกูลถั่วคลุมดิน           พังทลายของดินและปรับปรุงบ ารุงดิน ช่วยป้องกัน
                                                                   เม็ดฝนไม่ให้กระทบผิวดินโดยตรง ลดการชะล้าง
                                                                   พังทลายของดิน
                                                                  ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ปรับปรุงคุณสมบัติทาง
                                                                   กายภาพของดิน ควบคุมวัชพืช และช่วยปรับ
                                                                   สภาพแวดล้อมบริเวณปลูกพืชให้เหมาะสม
                                                                  เหมาะกับพื้นที่ที่มีความลาดเทตั้งแต่ 0-35
                                                                   เปอร์เซ็นต์ และเหมาะสมส าหรับปลูกคลุมดินใน
                                                                   สวนไม้ผล หากพื้นที่ลาดชันสูงเกิน 20 เปอร์เซ็นต์
                                                                   และเป็นดินเลว ใช้ปลูกพืชเศรษฐกิจไม่คุ้มค่า
                3) การปลูกพืชหมุนเวียน      ปลูกพืชตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป   เพื่อหมุนเวียนการใช้ธาตุอาหารพืช ท าให้ดินมี
                (crop rotation)        หมุนเวียนในพื้นที่เดียวกัน อาจ  ความอุดมสมบูรณ์ สามารถควบคุมการระบาดของ
                                       ปลูกพืชเศรษฐกิจหมุนเวียนกับ  โรคแมลงและวัชพืช
                                       พืชตระกูลถั่วหรือพืชตระกูลหญ้า
                                       เช่น ข้าวโพด-ถั่ว โดยจัดชนิดและ
                                       เวลาปลูกพืชให้เหมาะสม
                4) การปลูกพืชแซม       เป็นการปลูกพืชตั้งแต่ 2 ชนิด  เพื่อช่วยลดการระเหยน้ าจากผิวดินเนื่องจากมีการ
                (intercropping)        ขึ้นไปบนพื้นที่ในเวลาเดียวกัน   เพิ่มประชากรพืชที่ปกคลุมดิน ท าให้โรคแมลงและ
                                       โดยปลูกพืชที่2   แซมลงใน    วัชพืชน้อยลง
                                       ระหว่างแถวของพืชหลัก เช่น   พืชแซมควรเป็นพืชตระกูลถั่วที่มีอายุสั้นกว่าพืช
                                       ข้าวโพดแซมถั่ว              หลัก ระบบรากของพืชทั้งสองควรมีระดับที่แตก
                                                                   ต่างกัน และเลือกพืชแซมที่สามารถสร้างรายได้
                5) การปลูกพืชเหลื่อมฤดู    ปลูกพืชต่อเนื่องคาบเกี่ยวกัน    เพื่อใช้ประโยชน์ที่ดินกับพืชที่ปลูกตามมาได้อย่าง
                (relay cropping)       โดยการปลูกพืชที่สองระหว่าง   คุ้มค่าและเพิ่มรายได้ต่อพื้นที่ให้มากขึ้น
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131