Page 121 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 121

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       111




                   ตารางที่ 4.1 มาตรการอนุรักษ์วิธีกล วิธีปฏิบัติ และการใช้งาน (ต่อ)

                     มำตรกำรอนุรักษ์วิธีกล          วิธีปฏิบัติ                       กำรใช้งำน
                    แบบลาดเอียงออก                                        อัตราการซาบซึมน้ าปานกลางถึงต่ า เหมาะ
                    (forward or outward                                   กับพื้นที่ฝนตกชุกมากกว่า 650 มิลลิเมตรต่อ
                    bench terrace)                                        ปี (38.1 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง)
                                                                          ผิวหน้าฐานขั้นบันไดเอียงออกจากเชิงลาด
                                                                          เล็กน้อยเพื่อให้น้ าส่วนเกินระบายออก ควร
                                                                          ใช้กับพื้นที่ลาดชันปานกลาง ดินลึก ถึงลึก
                                                                          มาก (1.0-1.5 ถึงมากกว่า 1.5 เมตร) เหมาะ
                                                                          กับบริเวณที่ฝนตกน้อยกว่า 650 มิลลิเมตร
                                                                          ต่อปี หรือ 6.35-38.1 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง
                    9) คันชะลอความเร็วของ สร้างคันชะลอความเร็วขวางเป็นช่วงๆ   ใช้กับพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายแบบร่อง
                    น้ า หรือฝายน้ าล้น   ในร่องน้ าที่มีการกัดเซาะ ใช้เศษไม้   ลึก หรือในทางระบายน้ า เพื่อช่วยลดปัญหา
                    (check dam)          เศษพืช หิน ดิน คอนกรีต หรือเป็น  การกัดเซาะ
                                         สิ่งก่อสร้างที่ปูด้วยหญ้า        ชะลอความเร็วของน้ า และกักเก็บตะกอนดิน
                                                                          ช่วยให้พืชในร่องน้ าที่งอกใหม่
                                                                          ไม่ถูกน้ าพัดพาไป และสามารถเจริญเติบโต
                                                                          ขึ้นปกคลุมร่องน้ าได้เร็วขึ้น
                    10) บ่อดักตะกอน      สร้างบ่อขนาดเล็กเพื่อดักตะกอนที่ไหลมา  ช่วยดักตะกอนที่ไหลมาตามน้ าไม่ให้ไหลลงไป
                     (sediment trap)     ตามทางระบายน้ าก่อนลงสู่บ่อน้ าในไร่นา   ทับถมบ่อน้ าประจ าไร่นา ท าให้อายุการใช้
                                         และสร้างเหนือพื้นที่อ่างเก็บน้ าก่อนที่น้ า  งานของบ่อน้ ายาวนานขึ้น และช่วยรักษา
                                         จะพัดพาตะกอนดินไหลลงสู่อ่างเก็บน้ า   คุณภาพของน้ า
                                         ซึ่งท าให้อ่างเก็บน้ าตื้นเขินอย่างรวดเร็ว
                    11) บ่อน้ าในไร่นา (farm  สร้างขึ้นโดยการขุดหรือท าคันดิน  เพื่อรับน้ าจากคันดินเบนน้ าลงมากักเก็บไว้ใช้
                    pond)                ล้อมรอบส าหรับเก็บกักน้ าไว้ใช้ในพื้นที่  ในพื้นที่การเกษตรในช่วงฝนทิ้งช่วงหรือฤดู
                                         เกษตร หรือถมดินขวางกั้นทางเดินน้ า   แล้ง และใช้เพื่อการอุปโภค บริโภคและเลี้ยง
                                         หรือร่องน้ า                     สัตว์ ส าหรับพื้นที่ลุ่มที่มีน้ าขังโดยขุดดินตรง
                                                                          จุดต่ าสุดเพื่อกักเก็บน้ า กรณีที่มีคลองหรือ
                                                                          ล าธารอยู่ข้างเคียงพื้นที่ให้ใช้วิธีสูบน้ าหรือ
                                                                          ระบายน้ ามากักเก็บไว้ในบ่อน้ าที่สร้างขึ้น
                                                                          ถ้าในบริเวณพื้นที่มีน้ าหรือตาน้ าที่ไหลมาจาก
                                                                          น้ าพุที่เป็นน้ าสะอาดก็สามารถขุดบ่อเก็บกัก
                                                                          น้ าไว้ใช้ได้ รวมทั้งพื้นที่ที่มีน้ าไหลมาให้ท า
                                                                          คันกั้นปิดน้ ากักเก็บไว้
                    12) ถนนเชื่อมโยงในไร่นา   สร้างถนนที่เชื่อมระหว่างคูรับน้ าขอบ  ใช้เป็นทางสัญจรของเครื่องจักรกลที่ใช้
                    (access roadway)     เขาหรือทางเดินเท้าบนขั้นบันไดดินกับ  ปฏิบัติงาน
                                         ถนนซอย หรือถนนสายหลัก
                    13) ทางล าเลียงในไร่นา   สร้างทางล าเลียงโดยท าคันดินให้มี  เพื่อเพิ่มความสะดวกในการขนส่งผลิตผลจาก
                     (farm road)         ขนาดใหญ่เพื่อใช้เป็นถนน          พื้นที่เกษตรสู่ตลาด และใช้เป็นถนนให้
                                                                          เครื่องจักรกลเข้าท างานในพื้นที่เพาะปลูก
                                                                          เหมาะกับพื้นที่ลาดเท 2-12 เปอร์เซ็นต์
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126