Page 6 - หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างยั่งยืน (The International Code of Conduct for the Sustainable use and Management of fertilizers) : ปลจากเอกสารเผยแพร่ เรื่อง "Revised World Soil Chartar" ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations)
P. 6
กลุ่มสมัชชาความร่วมมือด้านทรัพยากรดินโลก
คำนำ ได้จัดท าแนวปฏิบัติตามความสมัครใจเพื่อการจัดการดิน
อย่างยั่งยืน (Voluntary Guidelines for Sustainable Soil
ดินเป็นแหล่งผลิตอาหารที่ส าคัญของโลก หากเรา Management; VGSSM) เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจ
ต้องการให้โลกมีความมั่นคงด้านอาหารและโภชนาการ เชิงกลยุทธ์และบริบทเฉพาะเกี่ยวกับดินในทุกระดับที่
ทรัพยากรดินจะต้องได้รับการบ ารุงรักษาและปกป้อง เกี่ยวข้อง เพื่อจัดการกับภัยคุกคามที่ส าคัญ เช่น ความไม่
เนื่องจากดินมีความสัมพันธ์โดยตรงกับพืชและต้นไม้ สมดุลของธาตุอาหารและวัฏจักรของธาตุอาหาร รวมถึง
การจัดการดินอย่างยั่งยืนจึงเป็นเรื่องส าคัญอันดับต้นๆ มลพิษในดิน เป็นต้น
ของภาคเกษตรกรรมและป่าไม้ นอกจากนั้น ดินยังคงเป็น หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการ
แหล่งให้บริการระบบนิเวศที่ส าคัญอื่นๆ เช่น การปรับปรุง ปุ๋ยอย่างยั่งยืนจะเป็นเครื่องมือส าคัญส าหรับการด าเนินการ
คุณภาพน ้าให้บริสุทธิ์และการหมุนเวียนของธาตุอาหาร ตามหลักปฏิบัติดังกล่าว โดยค านึงเป็นพิเศษถึงความไม่
การควบคุมภูมิอากาศ และการป้องกันน ้าท่วม เป็นต้น สมดุลของธาตุอาหารและมลพิษในดิน หลักจรรยาบรรณ
ดังนั้น การจัดการดินอย่างยั่งยืนจึงมีความส าคัญอย่างยิ่ง ฉบับนี้จะส่งเสริมการจัดการด้านต่างๆ เช่น การหมุนเวียน
ต่อภาคการผลิตอาหารครอบคลุมไปจนถึงภาคอุตสาหกรรม ของธาตุอาหาร การเกษตรกรรมและการจัดการที่ดิน เป็นต้น
การเพาะเลี้ยงสัตว์น ้าและการประมง รวมถึงภาคสิ่งแวดล้อม เพื่อปรับปรุงสุขภาพดิน รวมถึงแนะน ากฎระเบียบที่
และสุขภาพ เกี่ยวข้องกับการขาย จัดจ าหน่าย และติดฉลากผลิตภัณฑ์
ความท้าทายหลักๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการดิน ปุ๋ ยตามความเหมาะสม นอกจากนี้ ยังส่งเสริมการพัฒนา
เพื่อการผลิตอาหารและการบริการของระบบนิเวศ คือ ศักยภาพและโปรแกรมการศึกษาส าหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การจัดการธาตุอาหาร ซึ่งการจัดการธาตุอาหารก่อให้เกิด ที่เกี่ยวข้องกับห่วงโซ่คุณค่าปุ๋ย และเชิญชวนประเทศ
ความเสี่ยงสองประการ คือ การใช้ปุ๋ยมากเกินไปหรือใช้ผิด ที่พัฒนาแล้วให้ช่วยเหลือประเทศอื่นๆ ในการพัฒนา
วิธีอาจก่อให้เกิดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกและมลพิษ โครงสร้างพื้นฐานและความสามารถในการจัดการปุ๋ย
ในดินและน ้า ในทางตรงข้าม การใช้ปุ๋ยน้อยกว่าความต้องการ แบบครบวงจร
ของพืชจะท าให้ผลผลิต/ผลตอบแทนต ่า ความเสี่ยงเหล่านี้ หวังว่าภาครัฐ อุตสาหกรรม เกษตรกร ผู้ค้า และ
จ ะ มีความรุนแรงมากขึ้นตามจ านวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ประชาสังคมโดยทั่วไปจะใช้กรอบการด าเนินงานจากหลัก
อย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความถี่ของ จรรยาบรรณและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับบทบาท
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และความเสื่อมโทรมของทุน ความรับผิดชอบในการด าเนินงาน เพื่อให้แน่ใจว่ามีการใช้
ทางธรรมชาติที่มากขึ้น ปุ๋ ยอย่างยั่งยืน มีประสิทธิภาพ และมีผลกระทบเชิงลบ
จากความพยายามในการบรรลุวาระการพัฒนา ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
ที่ยั่งยืนปี 2573 วาระหลังปี 2563 และการฟื้นคืนความเสื่อม หากมีการใช้เอกสารนี้อย่างกว้างขวาง หลักจรรยาบรรณ
โทรมของที่ดิน (ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อรักษาหรือเพิ่มปริมาณ ฉบับนี้อาจช่วยให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน
และคุณภาพของทรัพยากรที่ดินที่สนับสนุน ด้านนิเวศ ฟื้นฟูความเสื่อมโทรมของที่ดิน และปกป้องความหลากหลาย
บริการ) องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ทางชีวภาพของดิน ในขณะเดียวกันยังคงรักษาสุขภาพ
(Food and Agriculture Organization; FAO) จึงได้ก่อตั้ง ความอุดมสมบูรณ์ และผลิตภาพของดิน รวมถึงผลิตอาหาร
สมัชชาความร่วมมือด้านทรัพยากรดินโลก (Global Soil ที่มีคุณค่าและเพียงพอต่อความต้องการของประชากร
Partnership; GSP) ซึ่งช่วยส่งเสริมการจัดการดินอย่างยั่งยืน ในอนาคต
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายความมั่นคงด้านอาหารและโภชนาการ
ในขณะที่สิ่งแวดล้อมได้รับการปกป้องไม่ให้ถูกท าลาย
Mr. Jose’ Graziano da Silva
Former FAO Director-General
ก