Page 22 - หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างยั่งยืน (The International Code of Conduct for the Sustainable use and Management of fertilizers) : ปลจากเอกสารเผยแพร่ เรื่อง "Revised World Soil Chartar" ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations)
P. 22

หลักการที่ 3                                                3.5.1  ส่งเสริมการใช้ที่ดินและนโยบาย การถือครอง
                                                                             ที่ดินที่สร้างแรงจูงใจเกษตรกรให้ปรับปรุง
           ความอุดมสมบูรณ์ของ                                                ความอุดมสมบูรณ์และสุขภาพของดิน


           ดินและธาตุอาหารพืช                                                ในบางกรณีควรมีการยับยั้งการปรับเปลี่ยน
                                                                             ที่ดินจากระบบนิเวศดั้งเดิมหรือระบบนิเวศ
                                                                             ที่มีการสงวนคุ้มครอง ไปสู่การใช้งานเพื่อ
           3.1 ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการปุ๋ยควรพิจารณาถึง              การผลิตทางการเกษตร
               ความสามารถในการเก็บรักษาและการให้ธาตุอาหาร              3.5.2  ส่งเสริมการอนุรักษ์ดินโดยใช้นโยบายและ
               แก่พืช ความสามารถในการสนับสนุนการเจริญเติบโต                  แรงจูงใจที่เกี่ยวข้องในการยับยั้ง การเสื่อม
               และความต้องการธาตุอาหารของพืช รวมถึงความเป็น                  โทรมของดินอันเนื่องมาจาก การสูญเสีย
               ประโยชน์ของน ้า
                                                                             หน้าดินจากการชะล้างพังทลายของดิน
           3.2 การพิจารณาดิน ควรค านึงถึงที่มา องค์ประกอบและ                 หรือการเสื่อมโทรมของดินในรูปแบบอื่นๆ
               การจ าแนก รวมถึงแนวทางการจัดการที่ผ่านมาที่มี                 เช่น การเกิดเกลือ การเกิดกรด การเกิดด่าง

               อิทธิพลต่อสมบัติทางเคมี กายภาพ และชีวภาพ                      และการเกิดมลพิษในดิน
               ซึ่งเกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์ของดินนั้นๆ             3.5.3  ควรมีวิธีที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ และ
                                                                             ประเมินสถานะธาตุอาหารพืชและสมบัติ
           3.3 การพิจารณาธาตุอาหารของพืช ควรค านึงถึงความ                    ทางเคมีของดินขั้นพื้นฐาน เช่น พีเอช (pH),

               ต้องการธาตุอาหารในภาพรวมของพืชในช่วงที่ผ่านมา                 ความเค็ม และตัวชี้วัดดินอื่นๆ และใช้
               และการคาดการณ์ในอนาคต ความต้องการธาตุอาหาร                    วิธีการนี้ในการจัดท าข้อเสนอแนะการใช้ปุ๋ย
               จ าเพาะของแต่ละพันธุ์พืชที่ปลูก (รวมถึงช่วงเวลาที่            ซึ่งขึ้นอยู่กับการประเมินสถานะของธาตุ
               ต้องการธาตุอาหารเหล่านั้นในช่วงการเจริญเติบโต)                อาหารพืชและ/หรือสมบัติของดินในพื้นที่

               และองค์ประกอบทางโภชนาการที่ต้องการของพืชพันธุ์                นั้นๆ ห้องปฏิบัติการของรัฐและเอกชนควร
               ที่ปลูก นอกจากนี้พันธุ์พืชที่จะปลูกควรสามารถปรับตัว           ด าเนินงานเพื่อตอบสนองเป้าหมายนี้
               ให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ความอุดมสมบูรณ์ของดิน                   ซึ่งวิธีการวิเคราะห์อาจรวมทั้งกระบวนการ
               ความเป็นประโยชน์ของน ้า และสภาวะสุขาภิบาล                     ทางห้องปฏิบัติการแบบดั้งเดิม วิธีการที่
               ในท้องถิ่นนั้นๆ ได้
                                                                             ทันสมัย หรือใช้ชุดทดสอบภาคสนามที่

           3.4 ควรพิจารณาใช้ธาตุอาหารพืชจากหลากหลายแหล่ง                     ได้รับการสอบเทียบอย่างถูกต้อง
               ร่วมกัน ซึ่งจ ะ มีประโยชน์ต่อพืชมากกว่าการใช้ธาตุ       3.5.4  ส่งเสริมวิธีการทดสอบดินและเนื้อเยื่อพืช
               อาหารพืชจากแหล่งใดแหล่งหนึ่งเพียงอย่างเดียว ทั้งนี้           และวิธีการอื่นๆ ส าหรับการประเมินสถานะ
               เป็นการเพิ่มศักยภาพและความพร้อมของธาตุอาหาร                   ความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยเกษตรกรและ

               ส าหรับการเจริญเติบโตของพืช การเพิ่มอินทรียวัตถุ              ที่ปรึกษาเกษตรกร ทั้งนี้เพื่อก าหนด
               ให้แก่ดิน และการหลีกเลี่ยงการขาดหรือการมีมาก                  ความต้องการปุ๋ ยก่อนการใส่ปุ๋ ยในพื้นที่
               เกินไปของธาตุอาหารด้วยการผสมผสานระหว่างปุ๋ย                   เพาะปลูก และควรจัดกิจกรรมรณรงค์
               อินทรีย์และอนินทรีย์                                          จัดท าสื่อการเรียนรู้และการสาธิตเพื่อเป็น

                                                                             การส่งเสริมและประชาสัมพันธ์
           3.5 หน่วยงานภาครัฐควรพิจารณาจากข้อมูลงานวิจัย และ
               วางแผนความร่วมมือระดับนานาชาติตามมาตรฐานสากล            3.5.5  พัฒนาและสนับสนุนการใช้วิธีการเชิงพื้นที่
               รวมทั้งร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมปุ๋ยและ ผู้มีส่วนได้-           ในการทดสอบดินเพื่อการใช้ปุ๋ ยอย่างมี

               ส่วนเสียอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง:                                  ประสิทธิภาพและประสิทธิผล







                                                           12
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27