Page 25 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        15


                   ท่วมขัง ซึ่งกลุ่มชุดดินบนพื้นที่ดอนมีคุณสมบัติที่เหมาะสมดังกล่าว แต่ปัญหาที่พบในการใช้ประโยชน์ใน
                   พื้นที่ดอนคือ เป็นดินตื้นที่พบลูกรัง เศษหินหรือก้อนกรวด ภายในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดิน บาง
                   พื้นที่พบลูกรัง เศษหิน หรือก้อนกรวด กระจัดกระจายทั่วไปอยู่บริเวณผิวหน้าดิน ความอุดมสมบูรณ์ต่ า

                   ขาดแคลนน้ า และในพื้นที่ที่มีความลาดชันจะเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินได้ง่าย กลุ่มชุดดินบน
                   พื้นที่ดอนได้แก่ กลุ่มชุดดิน 45I 45B  45BI 45C 45CI และ 45D เป็นพื้นที่จ านวน 7,359 ไร่ หรือร้อยละ
                   23.65 ของเนื้อที่ต าบล และกลุ่มชุดดินที่ 51D 51E 53B และ 53BI  เป็นพื้นที่จ านวน 2,676 ไร่ หรือร้อย
                   ละ  8.6  ของเนื้อที่ต าบล ส่วนพื้นที่ลุ่มที่มีศักยภาพในการท านาข้าว เพราะเป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากการ

                   ผสมกันของตะกอนล าน้ า และตะกอนน้ าทะเล แล้วพัฒนาเป็นพื้นที่ราบชายทะเล ดินเป็นดินเหนียว
                   สามารถขังน้ าได้ดีในฤดูฝน จึงเหมาะสมต่อปลูกข้าว แต่ก็พบปัญหาในการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ลุ่ม คือดิน
                   เป็นกรดรุนแรงมากหรือเป็นดินเปรี้ยวจัดตื้น ภายในความลึก 50  เซนติเมตรจากผิวดิน เกิดการตรึงของ

                   ธาตุอาหารและมีสารที่เป็นพิษต่อพืชที่ปลูก มีโครงสร้างดินแน่นทึบ ดินแห้งแข็ง และแตกระแหง ท าให้ไถ
                   พรวนยาก คุณภาพน้ าเป็นกรดรุนแรงมาก ขาดแคลนแหล่งน้ าจืด ได้แก่กลุ่มชุดดินที่ 10 จ านวน 2,122 ไร่
                   หรือร้อยละ 6.82 ของเนื้อที่ต าบล
                         1) กลุ่มชุดดินที่ 2 ลักษณะเด่น กลุ่มดินเหนียวลึกมาก ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมาก อาจพบจุดประ

                   สีเหลืองฟางข้าวของสารประกอบก ามะถันลึกกว่า  100  เซนติเมตร จากผิวดิน การระบายน้ าเลว ความ
                   อุดมสมบูรณ์ปานกลาง  ปัญหา ดินเป็นกรดจัดมาก ท าให้เกิดการตรึงธาตุอาหารและปลดปล่อยสารที่เป็น

                   พิษต่อพืช  โครงสร้างแน่นทึบ ดินแห้งแข็งและแตกระแหง ท าให้ไถพรวนยาก คุณภาพน้ าเป็นกรดจัดมาก
                   ขาดแคลนแหล่งน้ าจืด และน้ าท่วมขังในฤดูฝน ท าความเสียหายกับพืชที่ไม่ชอบน้ า กลุ่มชุดดินที่ 2 พบ 1
                   หน่วยแผนที่ คือ

                         หน่วยแผนที่ กลุ่มชุดดินที่ 2 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ประมาณ 25 ไร่ หรือ 0.08
                   เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่

                         2) กลุ่มชุดดินที่ 3 กลุ่มดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนน้ ากร่อย อาจพบชั้นดินเลนของตะกอน
                   น้ าทะเลที่ไม่มีศักยภาพก่อให้เกิดเป็นดินกรดก ามะถันภายในความลึก  150  ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดิน

                   เป็นกลางถึงเป็นด่าง การระบายน้ าเลว ความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง ปัญหา โครงสร้างแน่นทึบ ดิน
                   แห้งแข็งและแตกระแหง ท าให้ไถพรวนยาก บางพื้นที่อาจพบชั้นดินเลนที่มีเกลือสะสมอยู่ในดินล่าง  และ

                   น้ าท่วมขังในฤดูฝน ท าความเสียหายกับพืชที่ไม่ชอบน้ า กลุ่มชุดดินที่ 3 พบ 2 หน่วยแผนที่ คือ
                         หน่วยแผนที่ กลุ่มชุดดินที่ 3 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ประมาณ 56 ไร่ หรือ 0.18
                   เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่  กลุ่มชุดดินที่  3 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน  เนื้อที่

                   ประมาณ 1,819 ไร่ หรือ 5.84 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่
                         3) กลุ่มชุดดินที่ 7 กลุ่มดินเหนียวลึกมากที่เกิดจากตะกอนล าน้ า ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงเป็นด่าง

                   การระบายน้ าค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ปัญหา โครงสร้างแน่นทึบ ดินแห้งแข็ง ท าให้ไถ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30