Page 20 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        10


                   2.2 สภาพภูมิอากาศ

                          ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดตราด ตามระบบการจ าแนกของ Köppen เป็นแบบมรสุมเขตร้อน
                   (Tropical monsoon climate : Am) คือ ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมที่พัดผ่านเป็นประจ า ท าให้มีฝนตก

                   ชุก โดยในเดือนที่แล้งที่สุดจะมีปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 60 มิลลิเมตร สามารถแบ่งฤดูกาลออกได้เป็น
                   2 ฤดู คือ

                                  ฤดูฝน ระยะเวลา 7 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ย
                   รายเดือนในช่วงนี้ อยู่ระหว่าง 216.71 – 1,188.9 มิลลิเมตร

                                  ฤดูแล้ง ระยะเวลา 5 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม ซึ่งในช่วงนี้จะมี
                   ฝนบ้างเล็กน้อย อยู่ระหว่าง 30.63 – 136.48 มิลลิเมตร

                          จากข้อมูลสถิติภูมิอากาศของสถานีตรวจอากาศจังหวัดตราดในรอบ 10 ปี (พ.ศ.2552  –  2561)
                   (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2561)  ได้น ามาใช้พิจารณาเป็นตัวแทนลักษณะภูมิอากาศในพื้นที่ต าบล สรุปได้ดังนี้

                   (ตารางที่ 1 )
                          ปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยรวมของจังหวัดตราด พบว่า มีปริมาณน้ าฝนเอยู่ในเกณฑ์สูง คือ 5,322.33

                   มิลลิเมตรต่อปี จ านวนวันฝนตกรวมตลอดปีเฉลี่ย 196 วัน ช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายนเป็น
                   ระยะที่ฝนตกน้อย โดยในเดือนธันวาคมเป็นเดือนที่ฝนตกน้อยที่สุดเฉลี่ย 43.04 มิลลิเมตร ปริมาณฝนตก

                   เพิ่มมากขึ้นในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน และในช่วงตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมเป็น
                   ระยะที่ฝนตกชุก โดยเดือนกรกฎาคมมีปริมาณฝนตกมากที่สุดเฉลี่ย 1,017.72 มิลลิเมตร

                          ส่วนปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยระยะเวลา 3 ปี ในปีที่ท าการทดสอบคือ พ.ศ. 2559 - 2561 ของอ าเภอ
                   เมือง จังหวัดตราด ซึ่งเป็นอ าเภอที่ตั้งของแปลงทดสอบพบว่า มีปริมาณน้ าฝนอยู่ในเกณฑ์สูง คือ 3,260.7

                   มิลลิเมตรต่อปี จ านวนวันฝนตกรวมตลอดปีเฉลี่ย 181 วัน ช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายนเป็น
                   ระยะที่ฝนตกน้อย โดยในเดือนกุมภาพันธ์เป็นเดือนที่ฝนตกน้อยที่สุดเฉลี่ย 22.1 มิลลิเมตร ปริมาณฝนตก

                   เพิ่มมากขึ้นในช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน และในช่วงตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมเป็นระยะที่ฝน
                   ตกชุก โดยเดือนมิถุนายนมีปริมาณฝนตกมากที่สุดเฉลี่ย 593.4 มิลลิเมตร (ภาพที่ 4)

                          อุณหภูมิเฉลี่ยของจังหวัดตราด พบว่า มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 27.66 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ
                   ต่ าสุดเฉลี่ยรายเดือนในเดือนมกราคมประมาณ 18.83 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยรายเดือนสูงสุดใน

                   เดือนเมษายนประมาณ 34.69 องศาเซลเซียส โดยในแต่ละเดือนอุณหภูมิเฉลี่ยมีค่าแตกต่างกันไม่มากนัก
                          ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยของจังหวัดตราด พบว่า ค่าความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปีเท่ากับ 81.87

                   เปอร์เซ็นต์  ความชื้นสัมพัทธ์จะสูงในช่วงระหว่างเดือนกรกฎาคม ถึงเดือนกันยายน โดยในช่วงเดือน
                   กรกฎาคมถึงเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีค่าความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดเฉลี่ย 88.00 เปอร์เซ็นต์ และช่วงตั้งแต่

                   เดือนธันวาคมค่าความชื้นสัมพัทธ์จะลดต่ าลง โดยมีค่าความชื้นสัมพัทธ์ต่ าสุดเฉลี่ย 72.20 เปอร์เซ็นต์
                          ส าหรับการวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลเพาะปลูกพืชที่เหมาะสม ได้จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์

                   ระหว่างปริมาณน้ าฝนเฉลี่ยรายเดือน และค่าศักยภาพการคายระเหยของน้ าของพืชรายเดือนเฉลี่ย โดย
                   พิจารณาช่วงเวลาที่เส้นน้ าฝนอยู่เหนือเส้น การคายระเหยของน้ าเป็นหลัก เพื่อหาช่วงระยะเวลาที่

                   เหมาะสมในการเพาะปลูกของจังหวัด ผลการวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลเพาะปลูกที่เหมาะสม สามารถสรุปได้
                   ดังนี้ (ภาพที่ 3)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25