Page 24 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        14


                   ตารางที่ 2 กลุ่มชุดดิน ต าบลหนองโสน อ าเภอเมือง จังหวัดตราด
                   กลุ่มชุดดิน                        ค าอธิบาย                          เนื้อที่ (ไร่)  ร้อยละ

                       2      กลุ่มชุดดินที่ 2  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์             25          0.08
                       3      กลุ่มชุดดินที่ 3  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์             56          0.18
                       3I     กลุ่มชุดดินที่ 3  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน   1,819     5.84
                       7      กลุ่มชุดดินที่ 7  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์             1,715       5.51
                       7I     กลุ่มชุดดินที่ 7  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน   403     1.30
                      10      กลุ่มชุดดินที่ 10  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์            684         2.20
                      10I     กลุ่มชุดดินที่ 10  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน    1,438     4.62
                      13      กลุ่มชุดดินที่ 13  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์            3,659       11.76
                      13I     กลุ่มชุดดินที่ 13  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน    1,278     4.11

                      32      กลุ่มชุดดินที่ 32  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์            332         1.07
                      32B     กลุ่มชุดดินที่ 32  มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์            821         2.64
                      32BI    กลุ่มชุดดินที่ 32  มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน    11     0.04
                     34gm     กลุ่มชุดดินที่ 34  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์            166         0.53
                      34B     กลุ่มชุดดินที่ 34  มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์            669         2.15
                     39gm     กลุ่มชุดดินที่ 39  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์            851         2.74
                     39gmI    กลุ่มชุดดินที่ 39  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน    30     0.10

                      45I     กลุ่มชุดดินที่ 45  มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน    16     0.05
                      45B     กลุ่มชุดดินที่ 45  มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์            427         1.37
                      45BI    กลุ่มชุดดินที่ 45  มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน    35     0.11
                      45C     กลุ่มชุดดินที่ 45  มีความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์           4,874       15.67
                      45CI    กลุ่มชุดดินที่ 45  มีความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน   423     1.36
                      45D     กลุ่มชุดดินที่ 45  มีความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์          1,584       5.09
                      51D     กลุ่มชุดดินที่ 51  มีความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์          890         2.86
                      51E     กลุ่มชุดดินที่ 51  มีความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์          1,109       3.56
                      53B     กลุ่มชุดดินที่ 53  มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์            105         0.34
                      53BI    กลุ่มชุดดินที่ 53  มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน    572     1.84

                      62      ที่ลาดชันเชิงซ้อน มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์       1,770       5.69
                              พื้นที่อื่นๆ                                               5,348       17.19
                              พื้นที่รวมทั้งหมด                                          31,110     100.00
                   ที่มา : กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน (2561)

                          จากข้อมูลสรุปได้ว่าทรัพยากรดินต าบลหนองโสน ส่วนมากเป็นพื้นที่ดอนที่มีศักยภาพในการปลูก
                   ยางพารา ไม้ผล ไม้ยืนต้น หรือพืชไร่ เป็นหลัก เพราะรากพืชต้องการออกซิเจนหรืออากาศในการหายใจ
                   และการเจริญเติบโต ดังนั้นคุณสมบัติทางกายภาพของดินจึงต้องมีการระบายของน้ าและอากาศได้ดี น้ าไม่
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29